Page 12 - ลักษณะภาษาไทย
P. 12

9-2 ลักษณะภาษาไทย

                   แผนกำรสอนประจำหน่วย

ชุดวชิ ำ ลักษณะภาษาไทย

หน่วยที่ 9 คายืมภาษาบาลี-สันสกฤต

ตอนที่

       9.1 ความรเู้ บอ้ื งต้นของภาษาบาลี-สนั สกฤต
       9.2 คายืมภาษาบาลี-สนั สกฤตท่ใี ช้ในภาษาไทย
       9.3 การเปลยี่ นแปลงของคายมื ภาษาบาลี-สนั สกฤตในภาษาไทย

แนวคดิ

       1. ความรู้เบ้ืองต้นของภาษาบาลี-สันสกฤต ประกอบด้วย 1) ความสัมพันธ์ทางประวัติศาสตร์
          ระหว่างอินเดียกับไทย ซ่ึงสาเหตุประการสาคัญที่ทาให้คายืมภาษาบาลี-สันสกฤตเข้ามามี
          อิทธิพลในภาษาไทย ได้แก่ ศาสนา วัฒนธรรม วรรณคดี และศัพท์บัญญัติ และ 2) ลักษณะ
          สาคัญของภาษาบาลี-สันสกฤต กล่าวถึงความแตกต่างระหว่างสระและพยัญชนะ รวมถึง
          ลักษณะการสร้างคา

       2. คายืมภาษาบาลี-สันสกฤตท่ีใช้ในภาษาไทย ประกอบด้วย 1) การยืมคาภาษาบาลี-
          สนั สกฤตมาใชใ้ นภาษาไทย เปน็ การยืมรูปศพั ท์ เติมเสยี งวรรณยกุ ต์ ยืมเสยี ง ยมื โดยเปลยี่ น
          รูปศัพท์ และ 2) คายืมภาษาบาลี-สันสกฤตในภาษาไทย เป็นการคายืมภาษาบาลี-
          สันสกฤตมาใช้ในคาราชาศัพท์ คาเฉพาะศาสนา คาในวรรณคดี คาสุภาพท่ีใช้ทั่วไป ศัพท์
          บัญญัติ และคาเรียกช่ือเฉพาะ

       3. การเปลี่ยนแปลงของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตในภาษาไทย ประกอบด้วย 1) การเปล่ียน
          เสียงของภาษาบาลี-สนั สกฤต กล่าวถึงการเปลีย่ นเสียงพยัญชนะ การเปลี่ยนเสียงสระ และ
          การเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์ 2) การเปล่ียนรูปของภาษาบาลี-สันสกฤต กล่าวถึงการเปลี่ยน
          รูปพยญั ชนะและการเปลี่ยนรูปสระ และ 3) การเปลย่ี นความหมายของภาษาบาลี-สนั สกฤต
          กลา่ วถึงความหมายกว้างออก ความหมายแคบเขา้ และความหมายย้ายท่ี
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17