Page 15 - ลักษณะภาษาไทย
P. 15

คายมื ภาษาบาลี-สนั สกฤต 9-5

ควำมนำ

       คายืมภาษาบาลี-สันสกฤตเป็นคายืมที่มีอิทธิพลต่อภาษาไทยซ่ึงมีสาเหตุหลายประการ ได้แก่
ศาสนา วัฒนธรรม วรรณคดี และศัพท์บัญญัติ ทั้งน้ี ส่งผลให้ไทยรับคายืมดังกล่าวมาใช้จานวนมากทั้ง
ภาษาพูดและภาษาเขียน เช่น ใช้เป็นคาราชาศัพท์ ใช้เป็นคาศัพท์ในวรรณคดีและวรรณกรรม ใช้เป็นคา
เฉพาะศาสนา ใชเ้ ปน็ คาสุภาพชนทั่วไป ใชเ้ ป็นชอื่ เฉพาะ เป็นตน้

       ด้วยเหตุท่ีคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตมีใช้จานวนมาก ในหน่วยที่ 9 คายืมภาษาบาลี-สันสกฤต
จึงได้จาแนกว่าคาใดมาจากภาษาบาลีและคาใดมาจากภาษาสนั สกฤต เพื่อเป็นความรู้ประกอบเพิ่มเติม
สาหรับผู้ทสี่ นใจ อีกทั้งทาให้ผู้สนใจเห็นความแตกตา่ งระหว่างคาท้งั สอง การจาแนกคาทั้งสองขา้ งต้นได้
แสดงตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 กล่าวคือ 1) คายืมเป็นภาษาบาลี ใช้ (ป.)
2) คายมื ทีเ่ ป็นภาษาสนั สกฤต ใช้ (ส.) และ 3) คายืมที่เป็นทงั้ ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต ใช้ (ป., ส.)

       อย่างไรก็ตาม การจาแนกคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตดังกล่าวก็เพื่อให้เห็นถึงรูปศัพท์ท่ีใช้
เหมือนกันและแตกต่างกันระหว่างสองภาษาเท่าน้ัน ซ่ึงในหน่วยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจ
และสามารถจาแนกคายมื ภาษาบาลี-สันสกฤตออกจากคายมื ภาษาอื่นๆ ได้
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20