Page 18 - ลักษณะภาษาไทย
P. 18

9-8 ลักษณะภาษาไทย

กลมุ่ ชาวอารยนั จงึ ตระหนักถึงความสาคัญของภาษาไวทกิ ะ เพื่อไมใ่ หภ้ าษาไวทิกะไปปะปนกบั ภาษาอ่ืน
ปาณินิจึงได้แต่งหนังสือช่ือ อัษฎาธยายี ซ่ึงเป็นหนังสือท่ีมีชื่อเสียงที่วางกฎเกณฑ์การใช้ภาษาของชาว
อารยนั ไว้อย่างเคร่งครัด จนเป็นจุดกาเนดิ ของภาษาสนั สกฤต

       ดังนั้น ภาษาของพวกอารยันจึงปรากฏออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 1) ภาษาด้ังเดิมท่ีไม่เคร่งครัด
กฎเกณฑ์ เรียกวา่ ไวทกิ ภาษา และ 2) ภาษาทเ่ี คร่งครดั กฎเกณฑ์การใช้ภาษา เรยี กว่า ภาษาสันสกฤต
หากแปลตามรูปศัพท์แล้วจะแปลว่า ปรับปรุงดีแล้ว ตกแต่งดีแล้ว จึงทาให้ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาของ
ชนชั้นสูง หรือของผู้ท่ีมีกานรศึกษาสูง หรือจะกล่าวได้ว่าเป็นภาษาของวรรณคดี คนท่ัวไปไม่สามารถ
นามาใช้สอ่ื สารในชวี ิตประจาวนั ได้

       วิสันติ์ กฏแก้ว (2545, น. 3-4) ได้กล่าวถึงสาเหตุทภี่ าษาบาลี-สันสกฤตเข้ามาในภาษาไทยว่า
ในบรรดาภาษาต่างประเทศท่ีมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับภาษาไทย ภาษาบาลี-สันสกฤตนับว่ามีความ
เก่ียวข้องอย่างย่ิง โดยเฉพาะศัพท์ท่ีปะปนอยู่ในภาษาไทย ทั้งนี้เพราะเราได้ยืมคาภาษาบาลี-สันสกฤต
มาใช้ในภาษาไทยจานวนมาก อาทิ คาที่อยู่ในแวดวงศาสนา คาที่ส่ือสารพูดกันในชีวิตประจาวัน คาที่
ปรากฏในวรรณกรรมวรรณคดไี ทย ศัพทบ์ ญั ญตั ิ คาที่เป็นชอ่ื บคุ คล สถานที่ แม้กระท่งั คาเฉพาะอ่ืนๆ ใน
สงั คมไทย

       ขณะเดียวกัน บางคาเรานาไปใช้จนเกิดความเคยชิน และมีความรู้สึกว่าเป็นส่วนหน่ึงของ
คาไทยเอง เรานาคาภาษาบาลี-สันสกฤตเหล่าน้ันมาใช้ในศาสตร์วิชาต่างๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิง
ศัพท์บัญญัติ บางคาเราใช้ในลักษณะคงรูปศัพท์เดิมของภาษาบาลี-สันสกฤต เช่น โลภะ โทสะ
โมหะ ฯลฯ บางคาเรานามาเปล่ียนเสียง หรือเปล่ียนความหมาย เช่น คงคา กมล บพิธ ฯลฯ แต่บางคา
เราอาจจะเอามาเปล่ียนแปลงรูปศัพท์ให้แปลกออกไปตามที่เราต้องการ เช่น จิร เจียร จาเนียร เป็นต้น
การทีค่ าบาลี-สันสกฤตเข้ามามอี ิทธพิ ลในภาษาไทยมสี าเหตหุ ลายประการด้วยกนั

       ประกำรแรก สำเหตทุ ่เี กย่ี วกบั ศำสนำ จากหลักฐานทางพระพทุ ธศาสนาปรากฏวา่ พระเจา้ อโศก-
มหาราช ได้เคยส่งสมณทูต 2 รูป คือ พระโสณะและพระอุตตระ มาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในแคว้น
สวุ รรณภูมิ หลกั ฐานทแี่ สดงว่าไทยนับถือพระพุทธศาสนาดงั ปรากฏในศลิ าจารกึ หลกั ท่ี 1 วา่

          “…กลางเมืองสุโขทัยน้ีมีพิหาร มีพระพุทธรูปทอง มีพระอัฏฐารส มีพระพุทธรูป มี
  พระพุทธรูปอันใหญ่ มีพระพุทธรูปอันราม มีพิหารอันใหญ่ มีพิหารอันราม มีปู่ครูมีเถร มีมหาเถร
  เบื้องตะวันตก เมืองสุกโขทัยนี้มีอรัญญิก พ่อขุนรามคาแหงกระทาโอยทานแก่มหาเถรสังฆราช-
  ปราชญ์เรียนจบปิ ฎกไตรหลวกกว่าปู่ครใู นเมืองน้ีทกุ คนลุกแตเ่ มอื งศรีธรรมราชมา…”
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23