Page 20 - ลักษณะภาษาไทย
P. 20

9-10 ลกั ษณะภาษาไทย

แนวตอบกจิ กรรม 9.1.1
       1. สะทอ้ นเรอื่ งศาสนา
       2. ศาสนา วัฒนธรรม วรรณคดี และศัพทบ์ ญั ญตั ิ

เรื่องท่ี 9.1.2
ลกั ษณะสำคญั ของภำษำบำล-ี สันสกฤต

       ภาษาบาลี-สนั สกฤตมอี ทิ ธิพลและส่งผลตอ่ ภาษาไทยหลายประการ และยังทาใหเ้ กดิ พฒั นาการ
ทางภาษาอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มเสียง ความหมาย และสานวน ในเร่ืองน้ีจะกล่าวถึงลักษณะ
สาคัญของภาษาบาลี-สันสกฤตเพยี งสังเขปเพื่อใหส้ ามารถจาแนกคายืมภาษาบาลี-สนั สกฤตออกจากคา
ภาษาอ่นื ๆ ได้

       ภาษาบาลี-สนั สกฤตเป็นภาษาท่อี ยู่ในตระกูลอินโด-ยูโรเปยี น สาขาย่อยอินโด-อิหร่าน ซ่ึงเปน็
ภาษาที่มีวิภัตติปัจจัย1 การเข้ามาของภาษาบาลี-สันสกฤตกล่าวได้ว่าภาษาสันสกฤตเข้ามาในประเทศ
ไทยก่อนภาษาบาลี ดังจะเห็นได้จากพราหมณ์มีบทบาทสาคัญในการประกอบพิธีกรรม เช่น พิธี
ตรียัมปวาย พิธีบรมราชาภิเษก ท้ังน้ี ภาษาท่ีพราหมณ์ใช้ก็คือภาษาสันสกฤต ในขณะท่ีภาษาบาลีจะ
นามาบนั ทึกพุทธวจนะไว้เป็นลายลักษณอ์ ักษร

1. สระและพยญั ชนะในภำษำบำล-ี สันสกฤต

       ภาษาบาลี-สันสกฤตมีส่วนประกอบท่ีสาคัญ ประกอบด้วย ธาตุ วิภัตติ ปัจจัย เพศ จานวนนับ
เป็นต้น แต่ในท่ีน้ีจะไม่อธิบายในรายละเอียดส่วนประกอบดังกล่าว ทั้งน้ีจะกล่าวเพียงรูปคาศัพท์ท่ีเป็น
ศัพท์สาเร็จรูปที่ภาษาไทยยืมมาใช้เท่านั้น เน่ืองจากภาษาไทยได้ยืมเฉพาะคาภาษาบาลีและสันสกฤต
มาใช้ ดงั นี้

         1 ภาษาแบบที่มีการสรา้ งคาด้วยการใช้วิภตั ติปัจจัยประกอบเข้ากับรากศัพท์ซ่ึงเป็นหน่วยคาไม่อสิ ระ ทาให้เกิดเป็นคาที่
แสดงเพศ พจน์ กาล มาลา วาจกอย่างชดั เจน เพ่ือเข้าสัมพันธ์ทางไวยากรณ์กลมกลืนกับคาอื่นในประโยค เช่น ภาษาบาลี ภาษา
สันสกฤต ภาษากรีกโบราณ ภาษาละตนิ ภาษาฝร่งั เศส (พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2554, online)
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25