Page 24 - ลักษณะภาษาไทย
P. 24

9-14 ลกั ษณะภาษาไทย

5) เมาลิ             โมลิ      “ผมเกล้า, ผมจกุ ”

- ภาษาสันสกฤตใช้สระ อู ภาษาบาลใี ช้สระ อุ ตัวอย่างเช่น

ภำษำสันสกฤต          ภำษำบำลี  ควำมหมำย

1) ศูนฺย             สญุ ญฺ    “ว่าง, เปล่า, สงัด”
2) ปรู วฺ            ปพุ พฺ    “ก่อน, แรก, แตก่ ่อน, เบอื้ งต้น”
3) จรู ณฺ            จุณฺณ     “ละเอียด”
4) สตู รฺ            สุตฺต     “เส้นด้าย, ใย”
5) มรู ฺฉา           มุจฉฺ า   “การสลบ, การเปน็ ลม”

           - ความนิยมในการใช้เสียงสระ สามารถเลือกใช้คาในภาษาสันสกฤตหรือภาษาบาลีก็ได้
ทง้ั น้ขี ึน้ อย่กู บั ความนยิ มและบริบทของผ้เู ลือกใชเ้ พอื่ สนองความประสงคท์ จ่ี ะนาไปใช้ ตัวอย่างเช่น

ภำษำสันสกฤต          ภำษำบำลี  ควำมหมำย
1) ปรุ ษุ            ปุรสิ
                               “ผูช้ าย, เพศชาย คูก่ ับ สตรี ใช้ในลักษณะ
2) ครุ ุ             ครุ        ที่สุภาพ, คาบอกสรรพนามว่าเป็นบุรุษ
3) ศานตฺ ิ           สนตฺ ิ     ที่ 1, 2 หรือ 3”
4) อาจารฺย           อาจาริย   “หนัก, สงู สุด, ใหญ”่
5) วีรยฺ             วริ ยิ    “ความสงบ”
                               “ผู้ส่งั สอนวิชาความรู้”
                               “ความเพยี ร, ความพยายาม”

           - ลักษณะของเสียงสระส้ัน-ยาว ภาษาสันสกฤตหากมีตัวสะกดตัวตาม เสียงสระมักจะเป็น
เสยี งสระยาว ขณะทีภ่ าษาบาลหี ากมีตัวสะกดตวั ตาม เสียงสระมักจะเป็นเสียงสระส้นั ตวั อย่างเชน่

ภำษำสันสกฤต          ภำษำบำลี  ควำมหมำย

1) กีรฺติ            กิตตฺ ิ   “เกียรติ, คาเล่าลอื , คาสรรเสรญิ , คายกย่อง”
2) มารฺค             มคคฺ      “ทาง”
3) ราตรฺ ิ           รตตฺ ิ    “กลางคืน, เวลามืดค่า, ช่อื ไม้พุ่มชนดิ หนงึ่ ”
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29