Page 27 - ลักษณะภาษาไทย
P. 27

คายมื ภาษาบาลี-สันสกฤต 9-17

4) ครชฺ ิต   คชฺชิต         “คารน, บันลือเสยี ง, เอกิ เกริก, กกึ กอ้ ง, กระหึ่ม”
5) ตรฺก      ตกกฺ           “ความตรึก, เหตผุ ล, ความคาดคะเน”

            - ภาษาสันสกฤตสามารถใช้พยัญชนะซ้อนได้เกินกว่า 2 ตัว ซึ่งสามารถปรากฏได้ท้ัง
ตาแหน่งต้นคา กลางคา และท้ายคาก็ได้ แต่ภาษาบาลีจะมีพยัญชนะซ้อนกันได้ไม่เกิน 2 ตัว ซึ่งไม่
สามารถปรากฏในตาแหนง่ ตน้ คาและท้ายคาได้ ตวั อย่างเชน่

ภำษำสันสกฤต  ภำษำบำลี       ควำมหมำย

1) สถฺ าวร   ถาวร           “ต้งั มั่น, ม่ันคง”
2) ปฺรภา     ปภา            “แสง, แสงสวา่ ง, แสงไฟ”
3) จยฺ ุติ   จตุ ิ          “การเคลอื่ น, ตาย, เปลี่ยนสภาพจากกาเนดิ หนึง่
                            ไปเปน็ อกี กาเนดิ หนึ่ง”
4) ศรี ษฺ    สีส            “หวั ”
5) โชฺยติสฺ  โชติ           “ความรุง่ เรือง, ความสว่าง”

3. ลกั ษณะกำรสร้ำงคำในภำษำบำล-ี สันสกฤต

       การสร้างคาในภาษาบาลี-สันสกฤต มีวิธีการสร้างคา 4 วิธี (ประยูร ทรงศิลป์, 2526, น. 99-
102) ดังนี้

       3.1 กำรสร้ำงคำโดยวธิ ีกฤต เปน็ การนาเอาธาตุ8มาลงปัจจยั 9 ทาให้เกิดศพั ท์ 2 ชนิด คอื
           1) นามศัพท์ เกดิ จากการนาธาตมุ าเติมปจั จัยนามกฤต ซง่ึ จะใช้เป็นคานามหรือคาคณุ ศัพท์

ก็ได้ ตัวอยา่ งเชน่

ธำตแุ ละควำมหมำย ปัจจยั     รูปสำเร็จ   ควำมหมำย

คมฺ (ไป, ถงึ ) + ติ ปัจจยั  เป็น คติ    “การไป”
ภิกขฺ ฺ (ขอ) + รู ปจั จัย   เป็น ภิกขุ  “ผู้ขอ”
ทา (ให)้ + ตุ ปจั จยั       เปน็ ทาตุ   “ผู้ให้”

         8 ธาตุ (Root) คือ รากศัพท์ด้งั เดิม พยางค์เดียว ท่ีสามารถแตกเป็นคาต่างๆ ได้อีก ถือว่ามีความหมายเบ้ืองต้นอย่แู ลว้
ในตัว

         9 ปัจจัย (Suffix) คือ ส่วนที่ประกอบเข้าข้างท้าย มี 2 ชนิด ได้แก่ ปัจจัยที่ลงท้ายธาตุ ทาให้ธาตุเป็นศพั ท์ และปัจจัยท่ี
ลงท้ายศัพท์ ทาใหศ้ พั ทม์ ีความหมายเพม่ิ ข้ึน
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32