Page 32 - ลักษณะภาษาไทย
P. 32

9-22 ลักษณะภาษาไทย

ตอนที่ 9.2
คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤตท่ีใช้ในภำษำไทย

โปรดอ่านหัวเรื่อง แนวคิด และวตั ถุประสงคข์ องตอนท่ี 9.2 แลว้ จงึ ศึกษารายละเอยี ดตอ่ ไป

  หัวเร่ือง

          9.2.1 การยืมคาภาษาบาลี-สันสกฤตมาใช้ในภาษาไทย
          9.2.2 คายมื ภาษาบาล-ี สนั สกฤตในภาษาไทย

  แนวคดิ

          1. การยืมคาภาษาบาลี-สันสกฤตมาใช้ในภาษาไทย ประกอบด้วย 1) การยืมรูปศัพท์
            ได้แก่ คายืมท่ีไม่เปลี่ยนแปลงรูปศัพท์และคายืมที่มีรูปศัพท์ใกล้เคียงกับภาษาบาลี-
            สันสกฤต 2) การเติมรูปวรรณยุกต์ เป็นการเติมรูปวรรณยุกต์เม่ือนาภาษาบาลี-
            สันสกฤตมาใช้ในภาษาไทย 3) การยืมเสียง เป็นการยืมเสียงสระท้ังที่เหมือนกันและ
            แตกต่างกัน รูปศัพท์ใหม่จะต่างไปจากรูปศัพท์เดิมบ้างตามลักษณะของเสียงสระที่
            เปล่ียนไป และ 4) การยืมโดยเปลี่ยนรูปศัพท์ ได้แก่ การเปล่ียนรูปพยัญชนะต้นคา
            การเปล่ียนรูปพยัญชนะกลางคา การเปล่ียนรูปพยัญชนะท้ายคา และการเปล่ียนรูป
            พยัญชนะต้นคา และ/หรอื กลางคา และ/หรอื ท้ายคา

          2. คายืมภาษาบาลี-สันสกฤตในภาษาไทย ประกอบด้วย คาราชาศัพท์ คาท่ีใช้ใน
            ศาสนาพทุ ธ คาในวรรณคดี คาสภุ าพทีใ่ ชท้ ัว่ ไป ศัพทบ์ ัญญตั ิ และคาเรยี กชอ่ื เฉพาะ

  วตั ถุประสงค์

          เม่ือศกึ ษาตอนท่ี 9.2 จบแลว้ นกั ศกึ ษาสามารถ
          1. อธบิ ายการยมื คาภาษาบาลี-สนั สกฤตมาใช้ในภาษาไทยได้
          2. บอกลกั ษณะคายมื ภาษาบาลี-สันสกฤตในภาษาไทยได้
          3. ระบคุ ายืมภาษาบาลี-สันสกฤตในภาษาไทยได้
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37