Page 35 - ลักษณะภาษาไทย
P. 35

คายมื ภาษาบาลี-สันสกฤต 9-25

คำยมื ภำษำบำลี-สันสกฤต                         ภำษำบำลี-สันสกฤต

1) เคารพ “ความเคารพ”                           1) เคารว (ส.) /เคา-ระ-วะ/ “ความประ-

                                               พฤตชิ ว่ั ”

2) จักรพรรดิ “พระราชา”                         2) จกฺกวตฺติ (ป.) /จกั -กะ-วัด-ติ/ “พระราชา”

3) บุษบา “ดอกไม้”                              3) ปุษปฺ (ส.) /ปดุ -สะ-ปะ/ “ดอกไม้”

4) บรรณ “ใบไม้, หนังสอื ”                      4) ปณฺณ (ป.) /ปัน-นะ/ “ใบไม้, หนงั สอื ”

5) ดสั กร “ขา้ ศกึ , ศตั รู”                   5) ตสฺกร (ส.) /ตดั -สะ-กะ-ระ/ “ข้าศึก, ศตั รู”

6) กบี่ “ลิง”                                  6) กปิ (ป., ส.) /กะ-ป/ิ “ลงิ ”

7) ภารดี “ถอ้ ยคา, คาพดู , ภาษา”               7) ภารติ (ส.) /พา-ระ-ติ/ “ถ้อยคา, คาพูด,

                                               ภาษา”

8) ประณาม “นอ้ มไหว้, กล่าวร้ายใหเ้ ขาเสยี หาย” 8) ปฺรณาม (ส.) /ประ-นา-มะ/ “น้อมไหว้,

9) บั ณฑิ ต “ผู้ ทรงความรู้ , ผู้ มี ปั ญญา, กล่าวร้ายใหเ้ ขาเสียหาย”

นักปราชญ”์                                     9) ปณฺฑิต (ป., ส.) /ปัน-ดิ-ตะ/ “ผู้ทรง-

10) ตรี “สาม”                                  ความรู้, ผู้มปี ญั ญา, นกั ปราชญ์”

                                               10)ตฺริ (ส.) /ตรฺ ิ/ “สาม”

                                          ฯลฯ

2. เตมิ รูปวรรณยุกต์

       การเติมรูปวรรณยุกต์ คือ การยืมคามาด้วยวิธีการถ่ายรูปจากพยัญชนะบาลี-สันสกฤตมาสู่
พยัญชนะภาษาไทย ทั้งน้ี คาบาลี-สันสกฤตไม่มีการกาหนดรูปวรรณยุกต์ เม่ือนามาใช้ในภาษาไทยจึง
ตอ้ งเติมรูปวรรณยุกตใ์ นภาษาไทย ตวั อย่างเช่น

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                        ภำษำบำล-ี สันสกฤต
1) เท่ห์ “ร่างกาย”
2) สนเทห่ ์ “สงสยั , ฉงน, ไม่แนใ่ จ”           1) เทห (ป., ส.) /เท-หะ/ “ร่างกาย”
                                               2) สนเฺ ทห (ป., ส.) /สน-เท-หะ/ “ความฉงน,
3) พา่ ห์ “ผู้แบก, ผ้ถู อื , ผทู้ รงไว้”
                                                 ความไมแ่ นใ่ จ, ความสงสัย”
                                               3) พาห (ป., ส.) /พา-หะ/ “ผ้แู บก, ผู้ถือ,

                                                  ผู้ทรงไว้, ตัวนา(โรค)”
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40