Page 37 - ลักษณะภาษาไทย
P. 37

คายืมภาษาบาลี-สันสกฤต 9-27

       ดังนั้น ประเด็นของการยืมทั้งรปู และเสียงจงึ ไม่ปรากฏ เพราะคาภาษาบาลี-สนั สกฤตมีระบบคา
และวิธีการอ่านแตกต่างจากคาไทย จึงไม่มีคาภาษาไทยคาใดที่จะสามารถอ่านได้เหมือนกับคาภาษา
บาลี-สันสกฤต แมว้ ่าจะมีรปู ศัพท์เหมือนกนั กต็ าม เช่น จารกิ คาไทย อา่ นว่า /จา-รกิ / คาบาลี-สันสกฤต
อ่านว่า /จา-ริ-กะ/ นอกจากน้ียังมีคาภาษาไทยบางคาท่ีสามารถอ่านได้เหมือนกับคาภาษาบาลี-
สันสกฤต แม้ว่าจะมีรูปศัพท์ต่างกันก็ตาม ทั้งนี้เม่ือนาคาภาษาบาลี -สันสกฤตคาน้ันมาใช้
ในภาษาไทยจะมีการเพิ่มเสียงสระหรือตัดเสียงสระ เพื่อให้สามารถอ่านได้อย่างคาเดิม เช่น ชาตะ
คาไทย อา่ นวา่ /ชา-ตะ/ คาบาลี-สนั สกฤต อ่านวา่ /ชา-ตะ/ เปน็ ตน้

4. ยมื โดยเปลยี่ นรูปศัพท์

       การยืมโดยเปลี่ยนรูปศัพทป์ รากฏหลายลกั ษณะ ประกอบด้วย 1) การเปล่ียนรปู พยัญชนะตน้ คา
2) การเปลี่ยนรูปพยัญชนะกลางคา 3) การเปล่ียนรูปพยัญชนะทา้ ยคา และ 4) การเปล่ียนรูปพยัญชนะ
ต้นคา และ/หรือกลางคา และ/หรือท้ายคา ท้ังนี้ จาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องคานึงถึงอักขรวิธีของภาษาไทย
ตัวอยา่ งเชน่

       - กำรเปลยี่ นรูปพยญั ชนะต้นคำ

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                        ภำษำบำล-ี สันสกฤต
1) บุรี “เมอื ง”                               1) ปรุ ี (ส.) /ปุ-ร/ี “เมือง, วงั , เมอื งหลวง”
2) พเิ ชฐ “เจรญิ ทีส่ ุด, ประเสริฐทสี่ ุด”     2) วิเชฏฺฐ (ป.) /วิ-เชด-ถะ/ “ผเู้ จริญทสี่ ดุ ,

3) ดรรชนี “น้วิ ช้ี”                              ผู้ประเสรฐิ ทีส่ ุด”
4) พายุ “ลมแรง”                                3) ตรฺชนี (ส.) /ตระ-ชะ-น/ี “นว้ิ ช้ี”
5) พรรษา “ช่วงระยะเวลา 3 เดอื น                4) วายุ (ป., ส.) /วา-ย/ุ “ลม”
                                               5) วรฺษา (ส.) /วระ-สา/ “ฝน, ฤดูฝน, ปี”
  ในฤดูฝน, ป”ี
                                            ฯลฯ

       จากตัวอย่างคาข้างต้นจะเห็นว่า ตัวอย่างที่ 1) ถึง 5) มีการเปล่ียนรูปพยัญชนะต้นคากล่าวคือ
เปล่ียนจากรูปพยัญชนะ ต ป และ ว ในภาษาบาลี-สันสกฤตเป็นรูปพยัญชนะ ฎ ด บ และ พ ในคายืม
ภาษาบาลี-สันสกฤต เช่น ตรฺชนี เป็น ดรรชนี, ปุรี เป็น บุรี, วิเชฏฐ เป็น พิเชฐ, วายุ เป็น พายุ และ
วรษฺ า เปน็ พรรษา เป็นต้น
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42