Page 38 - ลักษณะภาษาไทย
P. 38

9-28 ลกั ษณะภาษาไทย
       - กำรเปลยี่ นรูปพยญั ชนะกลำงคำ

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                             ภำษำบำล-ี สันสกฤต
1) อุบาสก “คฤหสั ถช์ ายที่นบั ถือพุทธศาสนา”         1) อุปาสก (ป., ส.) /อ-ุ ปา-สะ-กะ/

  “ชายผนู้ ัง่ ใกล้พระรตั นตรยั ”                   2) จินตฺ า (ป., ส.) /จิน-ตา/ “ความนึก,
2) จินดา “ความคดิ , แก้วมีค่า”                        ความคดิ ”

3) ชาดก “เรอ่ื งพระพทุ ธเจ้าที่มีในชาติก่อนๆ”       3) ชาตก (ป.,ส.) /ชา-ตะ-กะ/ “เร่อื งที่
                                                      เกิดมาแล้ว, เร่ืองอดตี ของพระพุทธเจา้ ”
4) เทพดา “เทวดา”
                                                    4) เทวตา (ป., ส.) /เท-วะ-ตา/ “พวก
5) ปฎล “หลังคา, เพดาน, ช้ัน”                          ชาวสวรรคท์ ี่มตี าทิพย์ หูทิพย์ และ
                                                      กนิ อาหารทพิ ย์”

                                                    5) ปฏล (ป.) /ปะ-ตะ-ละ/ “หลังคา,
                                                      เพดาน, ช้ัน”

                                       ฯลฯ

       จากตวั อยา่ งคาขา้ งต้นจะเห็นวา่ ตวั อยา่ งท่ี 1) ถงึ 5) มีการเปล่ียนรูปพยัญชนะกลางคา กลา่ วคือ
เปล่ียนจากรูปพยญั ชนะ ฏ ต ป และ ว ในภาษาบาลี-สันสกฤตเป็นรปู พยญั ชนะ ฎ ด บ และ พ ในคายมื
ภาษาบาลี-สันสกฤต เช่น ปฏล เป็น ปฎล, จินฺตา เป็น จินดา, ชาตก เป็น ชาดก, อุปาสก เป็น อุบาสก
และ เทวตา เปน็ เทพดา เปน็ ต้น

       - กำรเปลยี่ นรูปพยญั ชนะท้ำยคำ

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                             ภำษำบำล-ี สันสกฤต
1) ชีพ “ชวี ติ , ความเปน็ อยู่, ความดารงชีวิตอยู่”
                                                    1) ชวี (ป., ส.) /ช-ี วะ/ “อายุ, ความมี
2) เคารพ “การแสดงความนับถือ”                          ชีวติ อยู่”

3) อานุภาพ “อานาจ, ฤทธเ์ิ ดช, ความย่งิ ใหญ่”        2) เคารว (ส.) /เคา-ระ-วะ/ “ความ-
                                                      นบั ถอื , การให้เกียรติ, การใหน้ า้ หนกั ”

                                                    3) อานุภาว (ป,. ส.) /อา-น-ุ ภา-วะ/
                                                      “คณุ ยังบคุ คลใหเ้ จรญิ , ความเจรญิ ตาม,
                                                      ความเป็นตาม”
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43