Page 43 - ลักษณะภาษาไทย
P. 43

คายืมภาษาบาลี-สันสกฤต 9-33

2. คำทใี่ ช้ในศำสนำพทุ ธ

       ภาษาบาลี-สันสกฤตมีความสัมพันธ์กับศาสนาพุทธมาอย่างยาวนาน ท้ังนี้คายืมภาษาบาลี-
สันสกฤตดังกล่าวจะมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับพระไตรปิฎก เรื่องราว หรือเหตุการณ์ต่างๆ ทาง
พระพุทธศาสนา คาที่ใช้ในศาสนาพุทธจึงมีความหมายลึกซ้ึงกว่าคาทั่วๆ ไปที่สุภาพชนใช้กันใน
ชวี ติ ประจาวัน ตัวอย่างเชน่

คำยมื ภำษำบำลี-สันสกฤต                    ภำษำบำล-ี สันสกฤต

1) นิวรณ์ “สิ่งหา้ มกนั จติ ไวม้ ิใหบ้ รรลคุ วามดี 1) นวิ รณ (ป.) /น-ิ วะ-ระ-นะ/ “เคร่ืองกั้น”

มี 5 ประการ คือ ความพอใจรกั ใคร่ 1 ความ

พยาบาท 1 ความง่วงเหงาหาวนอน 1 ความ

ฟ้งุ ซา่ นราคาญ 1 ความลงั เลใจ 1”

2) มสุ าวาท “การพูดเท็จ, การพดู ปด, การพดู 2) มสุ าวาท (ป.) /ม-ุ สา-วา-ทะ/ “กลา่ วเท็จ”

โกหก”

3) สังคายนา “การซกั ซ้อม, การสวดพรอ้ มกนั 3) สคายน (ป., ส.) /สงั -คา-ยะ-นะ/ “การ

และเป็นแบบเดียวกนั , การประชุมชาระ             ซักซ้อม, การสวดพร้อมกันและเปน็ แบบ

พระไตรปิฎกใหเ้ ป็นแบบเดียวกัน”                 เดยี วกัน, การประชมุ ชาระพระไตรปิฎกให้

                                               เปน็ แบบเดยี วกนั ”

4) เวทนา “ความรสู้ กึ , ความรสู้ กึ ทกุ ขส์ ุข, เป็น 4) เวทนา (ป., ส.) /เว-ทะ-นา/ “ความรสู้ ึก,

ขนั ธ์ 1 ในขนั ธ์ 5 คือ รปู เวทนา สญั ญา       ความเจบ็ ปวด”

สังขาร วิญญาณ, ความเจ็บปวด, ความทกุ ข์

ทรมาน”

5) โผฏฐัพพะ “สิ่งที่มาถูกต้องกาย คือ ส่ิงท่ีเย็น 5) โผฏฐฺ พพฺ (ป.) /โผด-ทบั -พะ/ “ส่ิงทม่ี า

รอ้ น อ่อน แขง็ หยาบ ละเอยี ด”                 ถูกต้องกาย คอื ส่ิงท่เี ย็น ร้อน อ่อน

                                               แขง็ หยาบ ละเอียด”

                                          ฯลฯ
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48