Page 46 - ลักษณะภาษาไทย
P. 46

9-36 ลกั ษณะภาษาไทย

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                    ภำษำบำล-ี สันสกฤต
1) กาลเทศะ “เวลาและสถานท่ี, ความควร
                                           1) กาลเทศ (ป., ส.) /กา-ละ-เท-สะ/ “เวลา
   และไมค่ วร”                                 และสถานที่, ความควรและไม่ควร”
2) ทจุ รติ “ความประพฤติช่ัว, โกง,คดโกง”
                                           2) ทุจฺจริต (ป.) /ทุด-จะ-หฺริด-ตะ/ “บาป,
3) ปฏิเสธ “ไมร่ บั , ไมย่ อมรับ”               ความประพฤตชิ ั่ว”

4) ยตุ ิ “ชอบ, ถกู ตอ้ ง”                  3) ปฏเิ สธ (ป.) /ปะ-ต-ิ เส-ทะ/ “การห้าม,
                                               การยกเว้น, การไมร่ ับ”
5) บุตร “ลกู , ลูกชาย”
                                           4) ยตุ ตฺ ิ (ป.) /ยดุ -ติ/ “การประกอบ, ความ
                                               ถูกตอ้ ง, ความชอบ, ความเหมาะ, ความควร”

                                           5) ปุตรฺ (ส.) /ปดุ -ตฺระ/ “ลกู , ลกู ชาย”

                                         ฯลฯ

5. ศัพท์บัญญตั ิ

       ศัพท์บัญญตั ิ เปน็ การคิดค้นหาคาในภาษาไทยทีม่ ีความหมายตรงหรือใกล้เคยี งกับศพั ทน์ นั้ ๆ มา
กาหนดเป็นศัพท์บญั ญัติ หากหาคาในภาษาไทยทเี่ หมาะสมไม่ได้ จึงคิดหาคาบาลีหรือสันสกฤต ถ้าไม่มี
ศัพท์คาใดที่เหมาะสมเลยจึงจะใช้วิธีทับศัพท์เป็นประการสุดท้าย (สานักงานราชบัณฑิตยสภา, 2562,
online) ตวั อยา่ งเช่น

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                  ภำษำบำล-ี สันสกฤต

1) ธนบัตร “บัตรท่ีออกใช้เปน็ เงินตราซ่ึงใช้ชาระ 1) ธนปตฺร (ป., ส.) ทะ-นะ-ปัด-ตฺระ/ “บัตรท่ี

หนไ้ี ด้ตามกฎหมายโดยไมจ่ ากดั จานวน”     ออกใช้เป็นเงินตราซ่ึงใช้ชาระหนี้ได้ตาม

                                         กฎหมายโดยไมจ่ ากดั จานวน”

2) วิสยั ทศั น์ “การมองการณไ์ กล”        2) วิสยทสฺนน (ป.) /วิ-สะ-ยะ-ทัด-สะ-นะ/

                                         “การมองการณ์ไกล”

3) มลพิษ “พิษเกิดจากความมัวหมองหรือความ 3) มลวิษ (ป., ส.) /มะ-ละ-วิ-สะ/ “พิษเกิดจาก

สกปรกของส่งิ แวดลอ้ ม”                   ค ว า ม มั ว ห ม อ ง ห รื อ ค ว า ม ส ก ป ร ก ข อง

                                         สงิ่ แวดล้อม”
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51