Page 50 - ลักษณะภาษาไทย
P. 50

9-40 ลักษณะภาษาไทย

เร่ืองที่ 9.3.1
กำรเปลยี่ นเสียงของคำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต

       ภาษาบาลี-สนั สกฤตเป็นภาษาทมี่ วี ิภตั ตปิ ัจจยั และยงั เป็นภาษาที่มคี วามแตกต่างกบั ภาษาไทย
ในด้านระบบเสียงอย่างเห็นได้ชดั เม่ือจะรับและนาศัพท์ภาษาบาลี-สันสกฤตมาใช้ในภาษาไทยจึงต้องมี
การปรับเสียงให้เหมาะกับระบบของภาษาไทย ทั้งนี้ เม่ือรับศัพท์ภาษาบาลี-สันสกฤตมาแล้วอาจมีการ
เปล่ียนเสียงในลักษณะท่ีแตกต่างกัน การนาศัพท์ภาษาบาลี-สันสกฤตมาใช้สามารถปรากฏได้หลาย

ลักษณะ ได้แก่ การคงรูปเดิมของศัพท์ การเปล่ียนเสียงพยัญชนะ การเปลี่ยนเสียงสระ และการเปล่ียน
เสยี งวรรณยุกต์

       ในเรื่องนี้จะกล่าวเฉพาะการเปล่ียนเสียงพยัญชนะ การเปล่ียนเสียงสระ และการเปล่ียนเสียง
วรรณยกุ ต์ สว่ นการคงรูปศพั ทเ์ ดมิ จะกล่าวในเรอ่ื งท่ี 9.3.2 ดงั น้ี

1. กำรเปลยี่ นเสียงพยญั ชนะ

       การเปลี่ยนเสยี งพยัญชนะของคายืมภาษาบาลี-สนั สกฤต เมอ่ื รบั มาใชใ้ นภาษาไทยแลว้ อาจจะมี
การเปลี่ยนเสียงพยัญชนะไปในลักษณะที่ต่างไปจากรูปศัพท์เดิม ในประเด็นนี้จะแสดงการเปล่ียนเสียง
พยญั ชนะ 3 ลักษณะ ได้แก่ การตัดเสยี งพยญั ชนะ การเติมเสียงพยญั ชนะ และการเปลี่ยนเสยี งพยญั ชนะ
เพื่อใหส้ ะดวกในการออกเสียงได้ง่ายขึ้น ตัวอยา่ งเชน่

       1.1 กำรตดั เสียง คือ การตัดเสียงพยัญชนะต้นคา การตัดเสียงพยัญชนะกลางคา และการตัด
เสียงพยัญชนะท้ายคา โดยรูปเขียนยังคงมเี ค้ารูปศัพทเ์ ดิมอยู่ ตวั อย่างเชน่

           ก) การตัดเสียงพยญั ชนะต้นคา

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต  ภำษำบำล-ี สันสกฤต
นชุ /นดุ / “น้องสาว”
                         อนุช (ป.) /อะ-น-ุ ชะ/ “ผเู้ กิดภายหลัง,
                         นอ้ งสาว”
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55