Page 51 - ลักษณะภาษาไทย
P. 51

คายืมภาษาบาลี-สนั สกฤต 9-41

           จะเห็นได้ว่า เสียงพยัญชนะต้นคายืมของคาว่า นุช คือ /น/ ส่วนภาษาบาลี-สันสกฤตเปน็
เสียงพยัญชนะ /อ-น-ช/ เมื่อรับมาใช้ในภาษาไทยจะตัดเสียงพยัญชนะต้นพยางค์แรกของภาษาบาลี-
สันสกฤตออก คอื /อ/ เป็นคาว่า นชุ แลว้ เปล่ียนพยญั ชนะทา้ ยเปน็ ตัวสะกด

คำยมื ภำษำบำลี-สันสกฤต                        ภำษำบำลี-สันสกฤต

สีกา /สี-กา/ “คาท่ีพระภิกษุเรียกคฤหัสถ์ผู้หญิง อุปาสิกา (ป., ส.) /อุ-ปา-สิ-กา/ “คาที่

(ภาษาปาก)”                                    พระภิกษุเรียกคฤหัสถ์ผู้หญิง”

           จะเห็นได้ว่า เสียงพยัญชนะต้นคายืมของคาว่า สีกา คือ /ส-ก/ ส่วนภาษาบาลี-สันสกฤต
เป็นเสียงพยัญชนะ /อ-ป-ส-ก/ เมื่อรับมาใช้ในภาษาไทยจะตัดเสียงพยัญชนะต้นสองพยางค์แรกของ
ภาษาบาลี-สนั สกฤตออก คอื /อ-ป/ เป็นคาวา่ สีกา

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                       ภำษำบำล-ี สันสกฤต

ตกั ษัย /ตกั -ไส/ “ส้ินชีวติ , ตาย ตัดพยางค์  ชีวิตกฺษย (ป., ส.) /ชี-วิ-ตัก-ไส/ “การ
ชีวิ ออก”                                     สน้ิ ชีวิต, ตาย”

           จะเหน็ ไดว้ ่า เสียงพยัญชนะตน้ คายืมของคาวา่ ตักษัย คือ /ต-ส/ ส่วนภาษาบาลี-สนั สกฤต
เป็นเสียงพยัญชนะ /ช-ว-ต-ส/ เมื่อรับมาใช้ในภาษาไทยจะตัดเสียงพยัญชนะต้นสองพยางค์แรกของ
ภาษาบาลี-สันสกฤตออก คือ /ช-ว/ เป็นคาวา่ ตักษยั

           ข) การตดั เสียงพยญั ชนะกลางคา

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                       ภำษำบำล-ี สันสกฤต
จตบุ ท /จะ-ตุ-บด/ “สตั ว์สี่เท้า”
                                              จตุปฺปท (ป.) /จะ-ตปุ -ปะ-ทะ/
                                              “สตั วส์ ่ีเท้า”

           จะเหน็ ได้ว่า เสยี งพยญั ชนะคายืมของคาว่า จตบุ ท คือ /จ-ต-บ/ สว่ นภาษาบาลี-สนั สกฤต
เป็นเสียงพยัญชนะ /จ-ต-ป-ท/ เมื่อรับมาใช้ในภาษาไทยจะตัดเสียงพยัญชนะกลางคาของภาษาบาลี-
สนั สกฤตออก คอื เสียง /ป/ ในพยางค์ที่สอง เปน็ คาวา่ จตุบท
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56