Page 54 - ลักษณะภาษาไทย
P. 54

9-44 ลักษณะภาษาไทย
           2) การเตมิ เสียงกลางคา

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                    ภำษำบำล-ี สันสกฤต
สิงขร /สงิ -ขอน/ “จอม, ยอด, หงอน; ยอดเขา”
                                           สขิ ร (ป.) /สิ-ขะ-ระ/ “จอม, ยอด,
                                           หงอนยอดเขา”

           จะเห็นได้ว่า เสียงกลางคาของคาว่า สิงขร ของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตท่ีรับมาใช้ใน
ภาษาไทยเดิมภาษาบาลี-สันสกฤตใช้คาว่า สิขร เมื่อรับมาใช้ในภาษาไทยจะเพิ่มเสียงพยัญชนะสะกด
/ง/ ลงในพยางคแ์ รก เป็นคาว่า สิงขร

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                    ภำษำบำล-ี สันสกฤต

มรดก /มอ-ระ-ดก/ “สิ่งท่ีตกทอดมาจาก         มตก (ป.) /มะ-ตะ-กะ/ “ทรัพยส์ ิน
บรรพบุรษุ หรือท่ีสบื ทอดมาแตบ่ รรพกาล”     ของผู้ตายตกทอดแกท่ ายาท”

           จะเห็นได้ว่า เสียงกลางคาของคาว่า มรดก ของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตท่ีรับมาใช้ใน
ภาษาไทยเดิมภาษาบาลี-สนั สกฤตใช้คาวา่ มตก เม่อื รับมาใช้ในภาษาไทยจะเพมิ่ เสยี ง /ร/ ลงไป เปน็ คา
วา่ มรดก

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                    ภำษำบำล-ี สันสกฤต
มารดา /มาน-ดา/ “แม่”                       มาตา /มา-ตา/ “แม่”

           จะเห็นได้ว่า เสียงกลางคาของคาว่า มารดา ของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตท่ีรับมาใช้ใน
ภาษาไทยเดิมภาษาบาลี-สันสกฤตใช้คาว่า มาตา เมื่อรับมาใช้ในภาษาไทยจะเพมิ่ เสียง /ร/ ลงไป เป็น
คาวา่ มารดา

           3) การเตมิ เสียงท้ายคา

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                    ภำษำบำล-ี สันสกฤต
รุกขชาติ /รุก-ขะ-ชาด/ “ต้นไม,้ หมูไ่ ม้”   รุกขฺ (ป.) /รกุ -ขะ/ “ต้นไม”้
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59