Page 59 - ลักษณะภาษาไทย
P. 59

คายืมภาษาบาลี-สนั สกฤต 9-49

ยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                               ภำษำบำล-ี สันสกฤต

ปรารถนา /ปราด-ถะ-หฺนา/ “มุ่งหมาย, อยากได้, ปฺรารฺถนา (ส.) /ปรา-ระ-ถะ-นา/

ตอ้ งการ”                                           “ความอยากได้, ความประสงค์, ความ

                                                    ออ้ นวอน”

           จะเห็นได้ว่า เสียงสระกลางคาของคาว่า ปรารถนา ของคายืมภาษาบาลี-สนั สกฤตที่รับมา
ใช้ในภาษาไทย เดิมภาษาบาลี-สันสกฤตใช้คาว่า ปฺรารฺถนา เมื่อรับมาใช้ในภาษาไทยจะตัดเสียงสระ
พยางค์ที่สองของคา คอื เสยี ง /อะ/ ออก

           ค) การตดั เสียงสระท้ายคา

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                             ภำษำบำล-ี สันสกฤต

เหตุ /เหด/ “ส่ิงหรือเร่ืองที่ทาให้เกิดผล, เค้ามูล,  เหตุ (ป., ส.) /เห-ตุ/ “สิ่งหรือเร่ืองท่ีทา
เรือ่ ง”                                            ใหเ้ กดิ ผล, เค้ามูล, เรอ่ื ง”

           จะเห็นได้ว่า เสียงสระท้ายคาของคาว่า เหตุ ของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตที่รับมาใช้ใน
ภาษาไทย เดิมภาษาบาลี-สันสกฤตใช้คาว่า เหตุ เม่ือรับมาใช้ในภาษาไทยจะตัดเสียงสระท้ายคา คือ
เสยี ง /อ/ุ ออก

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                             ภำษำบำล-ี สันสกฤต
ประสตู ิ /ประ-สดู / “การเกิด, การคลอด”
                                                    ปฺรสูติ (ส.) /ปฺระ-สู-ติ/ “การเกิด, การ
                                                    คลอด”

           จะเห็นได้ว่า เสียงสระท้ายคาของคาว่า ประสูติ ของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตท่ีรับมาใช้
ในภาษาไทย เดิมภาษาบาลี-สันสกฤตใช้คาว่า ประสูติ เมื่อรับมาใช้ในภาษาไทยจะตัดเสียงสระท้ายคา
คือ เสยี ง /อิ/ ออก

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                             ภำษำบำล-ี สันสกฤต
กุศล /กุ-สน/ “ส่ิงที่ดที ช่ี อบ, บุญ, ฉลาด”
                                                    กุศล (ส.) /กุ-สะ-ละ/ “สิ่งที่ดีที่ชอบ,
                                                    บุญ, ฉลาด”
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64