Page 62 - ลักษณะภาษาไทย
P. 62

9-52 ลกั ษณะภาษาไทย

ภาษาไทยแล้วก็จะมีลักษณะท่ีแตกต่างกันจากรูปศัพท์เดิม ทั้งน้ี ปรากฏการเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์ใน
ลักษณะใส่รูปวรรณยุกต์กากบั ในคายมื ภาษาบาลี-สนั สกฤต กลา่ วคือ เดิมภาษาบาลี-สันสกฤตจะไมม่ รี ปู
วรรณยกุ ตก์ ากบั ทศ่ี พั ท์ แตเ่ มือ่ รับมาใชใ้ นภาษาไทย คายมื ภาษาบาลี-สันสกฤตจะมกี ารใสร่ ปู วรรณยุกต์
เพือ่ ใหส้ ะดวกในการออกเสียงตามอกั ขรวิธแี บบไทย ตวั อยา่ งเช่น

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                             ภำษำบำล-ี สันสกฤต

1) เท่ห์ /เท่/ “ตัว”                                1) เทห (ป., ส.) /เท-หะ/ “กาย, รา่ งกาย”

2) อุตส่าห์ /อุด-ส่า/ “ความบากบั่น, ความ 2) อุตฺสาห (ส.) /อุด-สา-หะ/ “ความกล้าขึ้น,

พยายาม, ความขยนั , ความอดทน”                        ความเพียร, ความพยายาม”

3) พย่หู ์ /พะ-ย/ู่ “พยหุ ะ, กระบวน, หม,ู่          3) พยูห (ป.) /พฺยู-หะ/ “กระบวน, พวก,

กองทัพ”                                             หม”ู่

4) พา่ ห์ /พ่า/ “ผู้แบก, ผถู้ ือ, ผทู้ รงไว้”       4) วาห (ป., ส.) /วา-หะ/ “ผู้แบก, ผู้ถือ, ผู้

                                                    ทรงไว้; ตวั นา (โรค)”

5) เล่ห์ /เล่/ “กลอุบาย, เง่ือนงาท่ีทาให้คน 5) เลห (ป., ส.) /เล-หะ/ “การใช้ลิ้น, การ

หลงผิด”                                             เลีย”

                                               ฯลฯ

กจิ กรรม 9.3.1

       ยกตวั อย่างการเปล่ยี นเสยี งของคายมื ภาษาบาลี-สันสกฤตมาอยา่ งละ 3 คา
       1. การเปลีย่ นเสียงพยัญชนะ
       2. การเปลย่ี นเสยี งสระ
       3. การเปลีย่ นเสยี งวรรณยกุ ต์

แนวตอบกจิ กรรม 9.3.1

       ตัวอย่างการเปลีย่ นเสียงของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตมาอย่างละ 3 คา มดี งั น้ี
       1. การเปลยี่ นเสียงพยัญชนะ ได้แก่ 1) นชุ (อนชุ ) 2) หสั ดี (หสตฺ ิน) และ 3) ตระกลู (กุล)
       2. การเปลี่ยนเสียงสระ ได้แก่ 1) ศรัทธา อ่านว่า /สัด-ทา/ ศฺรทฺธา (ส.) อ่านว่า /สะ-รัด-ทา/,
2) สารท อ่านว่า /สาด/ สารท (ป.) อ่านว่า /สา-ระ-ทะ/ และ 3) เหตุ อ่านว่า /เหด/ เหตุ (ป., ส.) อ่านว่า
/เห-ตุ/
       3. การเปลย่ี นเสียงวรรณยุกต์ ไดแ้ ก่ 1) เทห่ ์ (เทห) 2) อุตส่าห์ (อุตฺสาห) และ 3) พยูห่ ์ (พยหู )
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67