Page 66 - ลักษณะภาษาไทย
P. 66

9-56 ลกั ษณะภาษาไทย

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                             ภำษำบำล-ี สันสกฤต
3) พชื /พืด/ “เมล็ดพชื , เชื้อสบื พนั ธ์ุ”
                                                    3) พีช (ป.) /พี-ชะ/ “เมล็ดพันธ์ุไม้, สิ่งท่ี
4) ยวน /ยวน/ “เกย่ี วกับเช้ือชาติโยะ”                  จะเป็นพันธุ์ต่อไป, พรรณไม้ท่ีงอกอยู่
                                                       ตามท่ตี า่ งๆ ”
5) ครรชติ /คัน-ชิด/ “คารณ, บันลือเสยี ง”
6) เกษียณ /กะ-เสยี น/ “สิน้ ไป (ใชเ้ กยี่ วกบั การ  4) โยน (ส.) /โย-นะ/ “สืบเชื้อสายจากชาว
                                                       โย นะ”
   กาหนดอาย)ุ ”
7) มหึมา /มะ-ห-ึ มา/ “ใหญ,่ โต”                     5) ครฺชติ (ส.) /คระ-ช-ิ ตะ/ “คารามแลว้ ”
8) มรรค /มัก/ “ทาง, เหตุ, ใช้คู่กับ ผล ว่าเป็น      6) กษฺ ีณ (ส.) /กะ-ส-ี นะ/ “ส้ินไป”

   มรรคเป็นผล”                                      7) มหิมา (ป.) /มะ-หิ-มา/ “ใหญ,่ โต”
9) วาโย /วา-โย/ “ลม, ลมทพ่ี ดั รนุ แรง”             8) ม า รฺ ค ( ส .) /ม า รฺ -ก ะ / “ท า ง เ ช่ น

10) ตรอก /ตรอก/ “ทางแคบมีบ้านเรือนอยู่ 2               ชลมารค สถลมารค”
   ข้าง”                                            9) วายุ (ป., ส.) /วา-ยุ/ “ลม, อากาศ,
                                  ฯลฯ
                                                       ลมหายใจ”
                                                    10) โตฺรกฺ (ส.) /โตรก/ “ทางน้าไหล, ทาง

                                                       แคบๆ , ชอ่ งลกึ ของเขา”

       จะเหน็ ได้ว่า ตัวอยา่ งท่ี 1) ถงึ 10) มีการเปลยี่ นรปู สระจากภาษาบาลี-สนั สกฤต เปน็ คายืมภาษา
บาลี-สันสกฤต กล่าวคือ เปฺรษณีย (สระเอ) เป็น ไปรษณีย์ (สระไอ), เทยฺยทาน (สระเอยฺย) เป็น
ไทยทาน (สระไอ),พีช (สระอี) เป็น พืช (สระอื), โยน (สระโอ) เป็น ยวน (สระอัว) และ ครฺชิต (สระอะ)
เป็น ครรชิต (ร หัน), กฺษีณ (สระอี) เป็น เกษียณ (สระเอีย), มหิมา (สระอิ) เป็น มหึมา (สระอึ), มารฺค
(สระอา) เป็น มรรค (สระอะ), วายุ (สระอุ) เปน็ วาโย (สระโอ) และ โตฺรกฺ (สระโอ) เป็น ตรอก (สระออ)

       อย่างไรก็ตาม จะสังเกตได้ว่าคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตท่ีเปล่ียนทั้งรูปพยัญชนะและรูปสระจะ
ทาให้การสะกดการันต์และออกเสียงมีความแตกต่างกันกับคาภาษาบาลี -สันสกฤต ท้ังน้ี การ
เปลย่ี นแปลงดังกลา่ วกย็ ังทาใหเ้ หน็ เค้าศพั ท์เดมิ และความหมายดง้ั เดิมของคานน้ั ได้
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71