Page 70 - ลักษณะภาษาไทย
P. 70

9-60 ลักษณะภาษาไทย

       จะเห็นได้ว่า เม่ือรับคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตมาใช้ในภาษาไทย คาว่า พายุ หมายถึง
“ลมแรง” แตภ่ าษาบาลี-สนั สกฤตใช้ได้ในความหมายทก่ี ว้างออกไป หมายถึง “ลม”

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                    ภำษำบำลี-สันสกฤต

ชรา “แก่ด้วยอายุ, ชารุดทรุดโทรม (ใช้กับคน)” ชรา (ป., ส.) “ความแก่, ความทรุดโทรม
                                           (ใช้กับสิง่ ทวั่ ไป)”

       จะเห็นไดว้ า่ เม่อื รับคายืมภาษาบาลี-สนั สกฤตมาใช้ในภาษาไทย คาวา่ ชรา หมายถึง “แกด่ ว้ ย
อายุ, ชารุดทรุดโทรม (ใช้กับคน)” แต่ภาษาบาลี-สันสกฤตใช้ได้ในความหมายได้หลายความหมาย
หมายถงึ “ความแก่, ความทรุดโทรม (ใช้กับสิง่ ท่วั ไป)”

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                    ภำษำบำลี-สันสกฤต

ชนบท “เขตที่พน้ จากเมืองหลวงออกไป,         ชนปท (ป., ส.) “ชื่อหน่วยการปกครอง
บ้านนอก”                                   ของอินเดียโบราณใน 5 หน่วย คอื คาม-
                                           นคิ ม นคร รัฐ ชนบท (แควน้ ) เชน่ องั คะ
                                           มคธะ กาสี โกศล วัชชี ซึง่ เรียกวา่ มหา-
                                           นคร, ชุมชน, ท้องถิ่น”

       จะเห็นไดว้ า่ เมือ่ รับคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตมาใชใ้ นภาษาไทย คาวา่ ชนบท หมายถงึ “พ้ืนท่ี
ทพ่ี ้นจากเมืองหลวงออกไป, บ้านนอก” แต่ภาษาบาลี-สันสกฤตใช้ไดใ้ นความหมายได้หลายความหมาย
หมายถึง “ช่ือหน่วยการปกครองของอินเดียโบราณใน 5 หน่วย คือ คาม นิคม นคร รัฐ ชนบท (แคว้น)
เช่น อังคะ มคธะ กาสี โกศล วัชชี ซ่ึงเรยี กวา่ มหานคร, ชุมชน, ท้องถ่ิน”

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                    ภำษำบำลี-สันสกฤต

กรีฑา “กีฬาประเภทหน่งึ แบ่งเปน็ ประเภทลู่  กฺรีฑา (ส.) “การเล่นทว่ั ไป, การเล่นเพ่อื
และลาน”                                    ความสนกุ ”

       จะเห็นได้ว่า เมื่อรับคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตมาใช้ในภาษาไทย คาว่า กรีฑา หมายถึง “กีฬา
ประเภทหนึ่งแบ่งเป็นประเภทลู่ และลาน” แต่ภาษาบาลี-สันสกฤตใช้ได้ในความหมายได้หลาย
ความหมายและกวา้ งออกไป หมายถึง “การเลน่ ทัว่ ไป, การเลน่ เพื่อความสนุก”
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75