Page 73 - ลักษณะภาษาไทย
P. 73

คายมื ภาษาบาลี-สนั สกฤต 9-63

แนวตอบกิจกรรม 9.3.3

       ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงความหมายของคายมื ภาษาบาลี-สนั สกฤต มีดงั นี้
       1. ความหมายกว้างออก เช่น 1) เทวี ในคายืมภาษาบาลี-สันสกฤต หมายถึง “นางพญา, นาง
กษัตริย์, เทวดาผู้หญิง” แต่ภาษาบาลี-สันสกฤตความหมายจะอยู่ในวงจากดั หรือใช้เฉพาะความหมาย
หมายถึง “เทวดาผู้หญิง” และ 2) มาลา ในคายืมภาษาบาลี-สันสกฤต หมายถึง “ดอกไม้, พวงหรีด,
หมวก” แต่ภาษาบาลี-สันสกฤตความหมายจะอยู่ในวงจากัด หรือใช้เฉพาะความหมาย หมายถึง
“ดอกไม้”
       2. ความหมายแคบเข้า เช่น 1) กรีฑา ในคายืมภาษาบาลี-สันสกฤต หมายถึง “กีฬาประเภท
หน่ึงแบ่งเป็นประเภทลู่ และลาน” แต่ภาษาบาลี-สันสกฤตใช้ได้ในความหมายได้หลายความหมายและ
กว้างออกไป หมายถึง “การเล่นทั่วไป, การเล่นเพ่ือความสนุก” และ 2) พายุ ในคายืมภาษาบาลี-
สันสกฤต หมายถงึ “ลมแรง” แต่ภาษาบาลี-สนั สกฤตใช้ได้ในความหมายท่กี ว้างออกไป หมายถงึ “ลม”
       3. ความหมายย้ายท่ี เช่น 1) วิตถาร ในภาษาบาลี-สันสกฤต หมายถึง “นอกคอก, นอกทาง”
แต่ภาษาบาลี-สันสกฤต หมายถึง “แผ่ขยาย, กว้างขวาง” และ 2) ราศี ภาษาบาลี-สันสกฤต หมายถึง
“ความสง่างาม, ลักษณะดงี ามของคน, สิรมิ งคล, ชอ่ื มาตราวดั จกั รราศี” แต่ภาษาบาลี-สันสกฤตใช้ในอีก
ความหมายว่า “กอง, ปรมิ าณ, กล่มุ ”
   68   69   70   71   72   73   74   75   76