Page 71 - ลักษณะภาษาไทย
P. 71

คายมื ภาษาบาลี-สนั สกฤต 9-61

3. ควำมหมำยย้ำยที่

       ความหมายย้ายท่ี คือ ความหมายเดิมของภาษาบาลี-สันสกฤตมีความหมายอย่างหนง่ึ แต่เม่ือ
รับคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตมาใช้ในภาษาไทยก็จะใช้ในอีกความหมายหนึ่ง หรือใช้ในความหมายท่ี
ไมต่ รงกบั ความหมายเดมิ ตวั อยา่ งเชน่

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต               ภำษำบำลี-สันสกฤต

วิตถาร “นอกแบบ, นอกทาง, (เกินวิสัย-   วิตฺถาร (ป.) “แผ่ไป, แผ่ขยาย, กว้าง-
ปรกติ) เช่น พวกเด็กๆ ชอบเล่นวิตถาร    ขวาง”
เอาน้าสกปรกผสมแป้งสาดเข้า ไป ใ น
รถประจาทางในวนั สงกรานต์”

       จะเห็นได้ว่า เมื่อรับคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตมาใช้ในภาษาไทย คาว่า วิตถาร หมายถึง
“นอกแบบ, นอกทาง, (เกินวิสัยปรกติ) เช่น พวกเด็กๆ ชอบเล่นวิตถาร เอาน้าสกปรกผสมแป้งสาด
เข้าไปในรถประจาทางในวันสงกรานต์” แต่ภาษาบาลี-สันสกฤตใช้ในอีกความหมายว่า “แผ่ไป,
แผข่ ยาย, กวา้ งขวาง”

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต               ภำษำบำลี-สันสกฤต
อตุ ริ “นอกคอก, นอกทาง, นอกรตี ”
                                      อุตฺริ (ป., ส.) “ย่ิง, ย่ิงไปกว่า, เบ้ืองบน,
                                      เกิน”

       จะเห็นได้ว่า เม่ือรับคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตมาใช้ในภาษาไทย คาว่า อุตริ หมายถึง “นอก-
คอก, นอกทาง, นอกรีต” แต่ภาษาบาลี-สันสกฤตใช้ในอีกความหมายว่า “ย่ิง, ย่ิงไปกว่า, เบ้ืองบน,
เกนิ ”

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต               ภำษำบำลี-สันสกฤต
                                      ราศิ (ส.) “กอง, ปริมาณ, กลุ่ม”
ราศี “ความสง่างาม, ลักษณะดีงามของคน,
สิริมงคล, ชือ่ มาตราวดั จกั รราศี”
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76