Page 69 - ลักษณะภาษาไทย
P. 69

คายมื ภาษาบาลี-สันสกฤต 9-59

       จะเห็นได้ว่า เม่ือรับคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตมาใช้ในภาษาไทย คาว่า บิณฑบาต หมายถึง
“อาหาร, กิริยาท่ีพระภกิ ษุสามเณรรบั ของที่นามาใสบ่ าตร, กิริยาที่พระภิกษุสามเณรขอหรือขอร้อง” แต่
ภาษาบาลี-สนั สกฤตความหมายจะอยู่ในวงจากัด หรือใช้เฉพาะความหมาย หมายถึง “การตกของขา้ วที่
ป้นั ไวเ้ ปน็ ก้อนๆ ลงบนภาชนะท่รี องรับ”

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                        ภำษำบำลี-สันสกฤต

คูหา “ถ้า, ส่ิงก่อสร้างที่ก้ันเป็นห้องๆ, ช่องท่ีก้ัน คหุ า (ป., ส.) “ถา้ ”

สัดสว่ น สาหรับใช้ประโยชน์อยา่ งใดอย่างหน่ึง”

       จะเห็นได้ว่า เม่ือรับคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตมาใช้ในภาษาไทย คาว่า คูหา หมายถึง “ถ้า,
ส่ิงก่อสร้างที่ก้ันเป็นห้องๆ, ช่องท่ีกั้นสัดส่วนสาหรับใช้ประโยชน์อย่างใดอย่างหน่ึง” แต่ภาษาบาลี-
สันสกฤตความหมายจะอยู่ในวงจากัด หรอื ใช้เฉพาะความหมาย หมายถงึ “ถา้ ”

2. ควำมหมำยแคบเข้ำ

       ความหมายแคบเข้า คือ ความหมายเดิมของภาษาบาลี-สันสกฤตมีความหมายที่ใช้ได้หลาย
ความหมาย หรอื ใชใ้ นความหมายทีก่ วา้ งออกไป แตเ่ ม่ือรับคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตมาใชใ้ นภาษาไทย
ทาให้ใชไ้ ดเ้ ฉพาะบางความหมาย ตัวอย่างเช่น

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                        ภำษำบำลี-สันสกฤต

นิมนต์ “เชิญ, เชื้อเชิญ, (ใช้แก่พระภิกษุและ นมิ นตฺ น (ป.) “การเชญิ ”

สามเณร)”

       จะเหน็ ได้ว่า เม่ือรบั คายืมภาษาบาลี-สนั สกฤตมาใช้ในภาษาไทย คาว่า นมิ นต์ หมายถงึ “เชิญ,
เช้ือเชิญ, (ใชแ้ กพ่ ระภิกษแุ ละสามเณร)” ซึง่ ระบกุ ารใช้เฉพาะพระภิกษุและสามารถเณรเท่าน้ัน แต่ภาษา
บาลี-สนั สกฤตใช้ในความหมายทห่ี ลากหลายและกว้างกวา่ หมายถึง “การเชิญ”

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                        ภำษำบำลี-สันสกฤต
พายุ “ลมแรง”                                   วายุ (ป., ส.) “ลม”
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74