Page 68 - ลักษณะภาษาไทย
P. 68

9-58 ลกั ษณะภาษาไทย                               ภำษำบำล-ี สันสกฤต
                                                  เทวี (ป., ส.) “เทวดาผู้หญิง”
       คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต
       เทวี “นางพญา, นางกษัตริย์, เทวดาผหู้ ญิง”

       จะเห็นได้ว่า เม่ือรับคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตมาใช้ในภาษาไทย คาว่า เทวี หมายถึง
“นางพญา, นางกษัตริย์, เทวดาผู้หญิง” แต่ภาษาบาลี-สันสกฤตความหมายจะอยู่ในวงจากัด หรือใช้
เฉพาะความหมาย หมายถึง “เทวดาผหู้ ญงิ ”

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                           ภำษำบำล-ี สันสกฤต
                                                  มาลา (ป., ส.) “ดอกไม้”
มาลา “ดอกไม้, พวงหรีด, หมวก, สรอ้ ยคอ,
สาย, แถว”

       จะเห็นได้ว่า เมื่อรับคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตมาใช้ในภาษาไทย คาว่า มาลา หมายถึง
“ดอกไม้, พวงหรีด, หมวก” แต่ภาษาบาลี-สันสกฤตความหมายจะอยู่ในวงจากัด หรือใช้เฉพาะ
ความหมาย หมายถงึ “ดอกไม้”

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                           ภำษำบำล-ี สันสกฤต

เอก “หนึ่ง, ชนั้ ท่ีหนงึ่ , ดีเลิศ, เครอ่ื งหมายวรรณยกุ ต์” เอก (ป., ส.) “หนงึ่ , พวกหนงึ่ ”

       จะเห็นได้ว่า เมื่อรับคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตมาใช้ในภาษาไทย คาว่า เอก หมายถึง “หน่ึง,
ช้ันท่ีหน่ึง, ดีเลิศ, เคร่ืองหมายวรรณยุกต์” แต่ภาษาบาลี-สันสกฤตความหมายจะอยู่ในวงจากดั หรือใช้
เฉพาะความหมาย หมายถงึ “หนง่ึ , พวกหนง่ึ ”

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                           ภำษำบำลี-สันสกฤต

บิณฑบาต10 “อาหาร, กิริยาทีพ่ ระภกิ ษสุ ามเณรรบั ปิณฺฑปาต (ป.) “การตกของขา้ วที่ปั้นไว้

ของท่ีนามาใส่บาตร, กิริยาที่พระภิกษุสามเณรขอ เปน็ ก้อนๆ ลงบนภาชนะท่ีรองรบั ”

หรือขอรอ้ ง”

         10 ปิณฺฑปาต แปลว่า การตกของข้าวที่ป้ันไว้เป็นกอ้ นกลมๆ ลงบนภาชนะที่รองรับ ในภาษาไทย คาว่า บิณฑบาต มี 2
ความหมาย ความหมายแรกใช้เหมอื นภาษาบาลี คอื บิณฑบาต เป็นกิจกรรมท่ภี ิกษหุ รอื สามเณรอุ้มหรือสะพายบาตรแลว้ เท่ียวไป
ตามสถานที่ตา่ งๆ เพ่ือขอรับอาหารจากคนท่ัวไปในยามเชา้ ส่วนอกี ความหมายหน่งึ เป็นความหมายเฉพาะในภาษาไทย หมายถึง
ขอใหเ้ ห็นแกพ่ ระศาสนา งดเวน้ การทะเลาะเบาะแว้ง หรอื การกระทารนุ แรงตอ่ ผู้อ่นื
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73