Page 72 - ลักษณะภาษาไทย
P. 72

9-62 ลกั ษณะภาษาไทย

       จะเห็นได้ว่า เม่ือรับคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตมาใช้ในภาษาไทย คาว่า ราศี หมายถึง “ความ
สง่างาม, ลักษณะดีงามของคน, สิริมงคล, ช่ือมาตราวัดจักรราศี” แต่ภาษาบาลี-สันสกฤตใช้ในอีก
ความหมายว่า “กอง, ปริมาณ, กลุม่ ”

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                            ภำษำบำลี-สันสกฤต
อาวุโส “ผู้มีอายุแกก่ วา่ , ผ้มู ีตาแหน่งสูงกว่า”
                                                   อาวุโส (ป.) “ผู้มีอายุน้อยกวา่ (เป็นคาท่ี
                                                   พ ร ะ ภิ ก ษุ มี พ ร ร ษ า แ ก่ ก ว่ า เ รี ย ก ผู้ มี
                                                   พรรษานอ้ ยกว่า)”

       จะเห็นได้ว่า เม่ือรับคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตมาใช้ในภาษาไทย คาว่า อาวุโส หมายถึง “ผู้มี
อายุแก่กว่า, ผู้มีตาแหน่งสูงกว่า” แต่ภาษาบาลี-สันสกฤตใช้ในความหมาย “ผู้มีอายุน้อยกว่า (เป็นคาที่
พระภิกษุมีพรรษาแก่กว่าเรียกผู้มีพรรษาน้อยกว่า)” ดังท่ี สานักราชบัณฑิตยสภา (2562, online) ใน
บทวิทยุรายการ “รู้ รัก ภาษาไทย” ออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่
22 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ได้กล่าววา่ คาว่า อาวุโส ในภาษาบาลี แปลว่า “ผ้มู ีอายุ” เปน็ คาเรียกขานหรอื
คาทักทายที่ภิกษุผู้แก่พรรษาใช้เรียกขานภิกษุผู้อ่อนพรรษากว่า หรือภิกษุใช้เรียกขานคฤหัสถ์
คู่กบั คา ภันเต ซึง่ ภิกษุผูอ้ อ่ นพรรษาใช้

       ส่วนคาว่า อาวุโส ท่ีใช้ในภาษาไทย มีความหมายตรงข้ามกับที่ใช้ในภาษาบาลี คือหมายถึง มี
อายุมากกว่าหรือมีตาแหน่งหน้าที่การงานสงู กวา่ เปน็ ต้น เช่น ข้าราชการอาวุโส ครูอาวุโส ศิลปินอาวโุ ส
หมายถงึ “ความมอี ายุมากกว่าหรือมีประสบการณใ์ นอาชพี มากกวา่ ” เปน็ ต้น

กจิ กรรม 9.3.3

       ยกตัวอย่างการเปล่ียนแปลงความหมายของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤต อย่างละ 2 คา พร้อม
อธบิ าย

       1. ความหมายกวา้ งออก
       2. ความหมายแคบเข้า
       3. ความหมายย้ายที่
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76