Page 67 - ลักษณะภาษาไทย
P. 67

คายมื ภาษาบาลี-สันสกฤต 9-57

กจิ กรรม 9.3.2
       ยกตวั อยา่ งการเปล่ยี นรปู ของภาษาบาลี-สันสกฤตมาขอ้ ละ 3 ตวั อย่าง
       1. การเปลย่ี นรปู พยัญชนะ
       2. การเปล่ยี นรูปสระ

แนวตอบกจิ กรรม 9.3.2
       ตัวอยา่ งการเปล่ยี นรปู ของภาษาบาลี-สนั สกฤต มดี งั นี้
       1. การเปลี่ยนรูปพยัญชนะ เช่น 1) ดุล (ตุล) 2) อุกกาบาต (อุกฺกาปาต) และ 3) พิพิธภัณฑ์

(วิวธิ ภณฑฺ )
       2. การเปลี่ยนรูปสระ เช่น 1) ไปรษณีย์ (เปฺรษณีย) 2) ครรชิต (ครฺชิต) และ 3) บรรพชา

(ปพพฺ ชฺชา)

เร่ืองท่ี 9.3.3
กำรเปลยี่ นควำมหมำยของคำยมื ภำษำบำลี-สันสกฤต

       การนาคาภาษาบาลี-สันสกฤตมาใช้ในภาษาไทยนอกจากใช้ตามความหมายเดิมของศัพท์แลว้
ยังปรากฏการเปล่ียนแปลงความหมายในลักษณะท่ีต่างกันไป ได้แก่ ความหมายกว้างออก ความหมาย
แคบเข้า และความหมายย้ายท่ี ดงั น้ี

1. ควำมหมำยกว้ำงออก

       ความหมายกว้างออก คือ ความหมายเดิมของภาษาบาลี-สันสกฤตมีความหมายจากัดอยู่ใน
วงแคบ แต่เม่ือรับคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตมาใช้ในภาษาไทยทาให้สามารถใช้ความหมายได้มากกว่า
ความหมายเดมิ หรือใช้ได้กว้างกวา่ ความหมายเดิม ตัวอยา่ งเชน่
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72