Page 65 - ลักษณะภาษาไทย
P. 65

คายืมภาษาบาลี-สนั สกฤต 9-55

       จะเห็นได้ว่า รูปพยางค์แรกของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤต ได้แก่ พยาธิ พยัญชนะ พยัคฆ์
เปลีย่ นจาก วฺย ในภาษาบาลี-สนั สกฤต มาเป็น พย ในภาษาไทย

       1.2 พยัญชนะสะกด เป็นการเปล่ียนรูปพยัญชนะสะกดในภาษาบาลี-สันสกฤตมาเป็นรูป
พยัญชนะอ่ืนในคายืมภาษาบาลี-สนั สกฤต ทั้งน้ี การเปลี่ยนรูปพยญั ชนะสะกดดังกลา่ วมีทัง้ ลักษณะของ
การเปลย่ี นรปู ในคาหนงึ่ พยางค์ หรือคาสองพยางค์ หรอื คามากกวา่ สองพยางคก์ ไ็ ด้ ตวั อย่างเช่น

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                     ภำษำบำล-ี สันสกฤต
1) มารดร “แม่”
                                            1) มาตฤ (ส.) /มา-ตะ-รึ/ “แม่,
2) บรพิ ัตร “หมุนเวียน, เปล่ียนแปลง”           ผู้ให้ลกู ดื่ม (น้านม)”

3) สารพดั “ทงั้ หมด, ทกุ อย่าง”             2) ปริวตตฺ (ป.) /ปะ-ร-ิ วัด-ตะ/
                                               “การเป็นไปรอบ, การหมนุ เวยี น,
                                               การเปลี่ยน”

                                            3) สรวฺ ตสฺ (ส.) /สระ-ระ-วะ-ตดั /
                                               “ท้ังหมด, ทุกอย่างโดยรอบ”

                                      ฯลฯ

2. กำรเปลย่ี นรูปสระ

       การเปลีย่ นรปู สระ เปน็ การเปลยี่ นรูปสระในภาษาบาลี-สนั สกฤตมาเป็นรปู สระอนื่ ในคายืมภาษา
บาลี-สันสกฤต ซึ่งการเปล่ียนรูปสระในภาษาบาลี-สันสกฤตปรากฏอยู่มาก ในที่น้ีจะยกตัวอย่างพอ
สังเขปเพื่อให้เห็นการเปล่ียนแปลงรูปสระแต่ลักษณะที่นามาใช้ในคายืมภาษาบาลี -สันสกฤต
ตัวอย่างเชน่

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                     ภำษำบำล-ี สันสกฤต
                                            1) เปฺรษณีย (ส.) /เปฺร-สะ-นี-ยะ/ “สิ่งท่ี
1) ไปรษณีย์ /ไปร-สะ-นี/ “วิธีการส่งหนังสือ
   และหีบห่อส่ิงของเป็นต้นโดยมีองค์การที่      พึงส่งไป”
   ตั้งขนึ้ เปน็ เจา้ หนา้ ทีร่ ับส่ง”
                                            2) เทยฺยทาน (ป.) /เทย-ยะ-ทา-นะ/
2) ไทยทาน /ไท-ยะ-ทาน/ “ของสาหรับทา             “ทานท่ี ควรให้”
   ทาน”
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70