Page 60 - ลักษณะภาษาไทย
P. 60

9-50 ลักษณะภาษาไทย

           จะเห็นได้ว่า เสียงสระท้ายคาของคาว่า กุศล ของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตท่ีรับมาใช้ใน
ภาษาไทย เดิมภาษาบาลี-สันสกฤตใช้คาว่า กุศล เม่ือรับมาใช้ในภาษาไทยจะตัดเสียงสระท้ายคา คือ
เสยี ง /อะ/ ออก

       2.2 กำรเติมเสียง คือ เม่ือนาภาษาบาลี-สันสกฤตมาใช้ในภาษาไทยจะมีการแทรกเสียงสระลง
ไปในพยัญชนะควบกล้าของภาษาสนั สกฤต ตัวอยา่ งเช่น

           ก) การเตมิ เสียงสระระหว่างพยญั ชนะควบกลา้ ต้นคา

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                              ภำษำบำล-ี สันสกฤต
สถติ ิ /สะ-ถ-ิ ต/ิ “ขอ้ มูล, ตวั เลข, ข้อเท็จจรงิ ”  สฺถติ ิ (ส.) /สถฺ ิ-ติ/ “การอยู่, การตั้งอยู่,”

           จะเห็นได้ว่า การเติมเสียงสระระหว่างพยัญชนะควบกล้าต้นคา คือ /สฺถ/ ของคาว่า สถิติ
ของคายืมภาษาบาลี-สนั สกฤตทีร่ ับมาใช้ในภาษาไทย เดิมภาษาบาลี-สันสกฤตใช้คาว่า สฺถิติ เม่ือรับมา
ใช้ในภาษาไทยจะเพิ่มเสียง /อะ/ ทต่ี ้นคา

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                              ภำษำบำล-ี สันสกฤต
เสน่ห์ /สะ-เหฺน่/ “ลักษณะทีช่ วนใหร้ กั ”            เสนฺ ห (ป., ส.) /เสนฺ -หะ/ “ความรัก”

           จะเห็นได้ว่า การเติมเสียงสระระหว่างพยัญชนะควบกล้าต้นคา คือ /สฺน/ ของคาว่า เสน่ห์
ของคายมื ภาษาบาลี-สันสกฤตท่รี ับมาใช้ในภาษาไทย เดิมภาษาบาลี-สันสกฤตใช้คาว่า เสฺนห เมอ่ื รบั มา
ใชใ้ นภาษาไทยจะเพิ่มเสยี ง /อะ/ ทต่ี น้ คา

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                              ภำษำบำล-ี สันสกฤต
สตรี /สะ-ตรี/ “ผู้หญิง, เพศหญงิ , ค่กู ับ บุรุษ”     สตฺ ฺรี (ส.) /สฺตรี/ “ผหู้ ญงิ ”

           จะเห็นได้ว่า การเติมเสียงสระระหว่างพยัญชนะควบกล้าต้นคา คือ /สฺต/ ของคาว่า สตรี
ของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตทร่ี บั มาใช้ในภาษาไทย เดิมภาษาบาลี-สันสกฤตใช้คาว่า สฺตฺรี เมื่อรับมา
ใชใ้ นภาษาไทยจะเพม่ิ เสียง /อะ/ ทีต่ ้นคา
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65