Page 57 - ลักษณะภาษาไทย
P. 57

คายมื ภาษาบาลี-สันสกฤต 9-47

           จะเห็นไดว้ า่ เสยี งพยัญชนะของคาว่า พาณชิ ย์ ของคายืมภาษาบาลี-สนั สกฤตทร่ี ับมาใชใ้ น
ภาษาไทยเดิมภาษาบาลี-สันสกฤตใช้คาว่า วาณิชฺย เม่ือรับมาใช้ในภาษาไทยจะเปล่ียนเสียงจาก /ว/
เป็น /พ/

2. กำรเปลยี่ นเสียงสระ

       การเปลี่ยนเสียงสระของภาษาบาลี-สนั สกฤต เมื่อรับมาใชใ้ นภาษาไทยแล้วอาจจะมกี ารเปลี่ยน
เสียงสระไปในลักษณะท่ีแตกต่างกันจากรูปศัพท์เดิม การเปล่ียนเสียงสระในที่น้ีจะใช้ในความหมาย
ครอบคลุมถึงการตัดเสียงสระ การเติมเสียงสระ และการเปล่ียนเสียงสระ เพ่ือให้สะดวกในการออกเสยี ง
ไดง้ ่ายขึน้ เมื่อเป็นคายืมภาษาบาลี-สนั สกฤต ดังนี้

       2.1 กำรตดั เสียง คือ การตัดเสียงสระต้นคา การตัดเสียงสระกลางคา และการตัดเสียงสระท้ายคา
โดยรปู เขียนยังคงมเี ค้ารูปศัพท์เดมิ อยู่ ตวั อย่างเช่น

           ก) การตัดเสียงสระต้นคา

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                      ภำษำบำล-ี สันสกฤต

ศรทั ธา /สัด-ทา/ “ความเช่ือ, ความเลอ่ื มใส,  ศฺรทฺธา (ส.)/สะ-รัด-ทา/ “ความเชื่อ,
ความเชื่อมัน่ ในส่ิงดีงาม, ความเหน็ ชอบ”     ความเลื่อมใส, ความเช่ือม่ันในสิ่งดีงาม,
                                             ความเห็นชอบ”

           จะเห็นได้ว่า เสียงสระต้นคาของคาว่า ศรัทธา ของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตท่ีรบั มาใช้ใน
ภาษาไทย เดิมภาษาบาลี-สันสกฤตใชค้ าว่า ศฺรทธฺ า เมอื่ รับมาใชใ้ นภาษาไทยจะตัดเสยี งสระพยางค์แรก
ของคา คอื เสยี ง /อะ/ ออก

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                      ภำษำบำล-ี สันสกฤต
                                             เศฺรษฺฐิน (ส.) /สะ-เหฺรด-ถนิ / “คนมั่งม”ี
เศรษฐี /เสด-ถี/ “ช่ือหน่ึงของดาวฤกษ์ธนิษฐา
มี 4 ดวง, ดาวกา ดาวไซ ดาวศรวิษฐา หรือ
ดาวธนิษฐะ กเ็ รยี ก”
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62