Page 61 - ลักษณะภาษาไทย
P. 61

คายมื ภาษาบาลี-สนั สกฤต 9-51

ข) การเตมิ เสียงสระระหว่างพยญั ชนะควบกลา้ กลางคา

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                   ภำษำบำล-ี สันสกฤต
กลั ยา /กัน-ละ-ยา/ “หญงิ งาม, นางงาม”
                                          กฺลยา (ส.) /กลั -ยา/ “หญิงงาม,
                                          นางงาม”

           จะเห็นได้ว่า การเติมเสยี งสระระหว่างพยัญชนะควบกล้ากลางคา คือ /กฺล/ ในคาว่า กัลยา
ของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตทีร่ บั มาใชใ้ นภาษาไทย เดมิ ภาษาบาลี-สันสกฤตใช้คาวา่ กฺลยา เมื่อรบั มา
ใช้ในภาษาไทยจะเพมิ่ เสยี ง /อะ/ ทก่ี ลางคา

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                   ภำษำบำล-ี สันสกฤต

สังขยา /สัง-ขะ-หฺยา/ “การนับ การคานวณ” สงฺขฺยา (ป.) /สัง-ขะ-ยา/ “การนับ การ

                                          คานวณ”

           จะเห็นได้ว่า การเติมเสียงสระระหว่างพยัญชนะควบกล้ากลางคา คือ /ขฺย/ ของคาว่า
สังขยา ของคายืมภาษาบาลี-สนั สกฤตทรี่ ับมาใชใ้ นภาษาไทย เดิมภาษาบาลี-สันสกฤตใช้คาว่า สงฺขฺยา
เม่อื รับมาใชใ้ นภาษาไทยจะเพ่มิ เสยี ง /อะ/ ทกี่ ลางคา

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                   ภำษำบำล-ี สันสกฤต
ลกั ษณะ /ลกั -สะ-หฺนะ/ “สมบัตเิ ฉพาะตัว”
                                          ลกฺษฺณ (ส.) /ลัก-ษะ-หฺนะ/ “เครื่องหมาย,
                                          รอย”

           จะเห็นได้ว่า การเติมเสียงสระระหว่างพยัญชนะควบกล้ากลางคา คือ /กฺษฺ/ ของคาว่า
ลกั ษณะ ของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตท่ีรบั มาใช้ในภาษาไทย เดมิ ภาษาบาลี-สันสกฤตใชค้ าว่า ลกฺษฺณ
เมื่อรับมาใชใ้ นภาษาไทยจะเพิ่มเสียง /อะ/ ท่ีกลางคา

3. กำรเปลย่ี นเสียงวรรณยกุ ต์

       โดยปกติแล้วคาบาลี-สันสกฤตจะไม่มีการกาหนดรูปวรรณยุกต์ ดังนั้น การเปล่ียนเสียง
วรรณยุกต์ในท่ีน้ีจะหมายถึงการเปลี่ยนรูปของวรรณยุกต์ของภาษาบาลี-สันสกฤต เมื่อรับมาใช้ใน
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66