Page 58 - ลักษณะภาษาไทย
P. 58
9-48 ลักษณะภาษาไทย
จะเห็นได้ว่า เสียงสระต้นคาของคาวา่ เศรษฐี ของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตที่รบั มาใชใ้ น
ภาษาไทย เดิมภาษาบาลี-สันสกฤตใช้คาว่า เศฺรษฺฐิน เม่ือรับมาใช้ในภาษาไทยจะตัดเสียงสระพยางค์
แรกของคา คอื เสียง /อะ/ ออก
ข) การตัดเสียงสระกลางคา
คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต ภำษำบำล-ี สันสกฤต
สารท /สาด/ “เทศกาลทาบญุ ในวันสิ้นเดอื น 10 สารท (ป.) /สา-ระ-ทะ/ “เทศกาล
โดยนาพืชพรรณธัญญาหารแรกเก็บเก่ียวมา ทาบุญในวันส้ินเดือน 10, ฤดูใบไม้ร่วง”
ปรุงเป็นข้าวทิพย์ และข้าวมธุปายาสถวาย
พระสงฆ์, ฤดูใบไม้ร่วง, ในประเทศเขตอบอุ่น
ทางซีกโลกเหนือ ซ่ึงแบ่งฤดูกาลออกเป็น 4 ฤดู
คือ ฤดูหนาว (เหมันตฤดู) ฤดูใบไม้ผลิ
(วสันตฤดู) ฤดูร้อน (คิมหันตฤดู) และฤดูใบไม้
ร่วง (สารทฤดู) นั้น ฤดูใบไมร้ ่วงเรมิ่ ตน้ ในเดือน
กนั ยายนถงึ เดอื นพฤศจกิ ายน”
จะเหน็ ไดว้ า่ เสียงสระกลางคาของคาว่า สารท ของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตทร่ี บั มาใช้ใน
ภาษาไทย เดิมภาษาบาลี-สนั สกฤตใชค้ าวา่ สารท เม่ือรับมาใช้ในภาษาไทยจะตัดเสียงสระพยางค์ท่ีสอง
ของคา คอื เสียง /อะ/ ออก
คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต ภำษำบำล-ี สันสกฤต
ศีรษะ /สี-สะ/ “หัว (เป็นคาสภุ าพท่ใี ชแ้ ก่คน)” ศริ ษฺ (ส.) /สิ-ระ-สะ/ “หวั ”
จะเห็นได้ว่า เสียงสระกลางคาของคาวา่ ศรี ษะ ของคายืมภาษาบาลี-สนั สกฤตทรี่ บั มาใชใ้ น
ภาษาไทย เดิมภาษาบาลี-สันสกฤตใช้คาว่า ศิรฺษ เมื่อรับมาใช้ในภาษาไทยจะตัดเสยี งสระพยางค์ที่สอง
ของคา คอื เสียง /อะ/ ออก