Page 56 - ลักษณะภาษาไทย
P. 56

9-46 ลักษณะภาษาไทย

           จะเหน็ ไดว้ ่า เสยี งพยญั ชนะของคาวา่ ขนิษฐา ของคายมื ภาษาบาลี-สันสกฤตท่ีรบั มาใช้ใน
ภาษาไทย เดิมภาษาบาลี-สันสกฤตใช้คาว่า กนิษฺฐา เมื่อรับมาใช้ในภาษาไทยจะเปลี่ยนเสียงจาก /ก/
เป็น /ข/

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                          ภำษำบำล-ี สันสกฤต

บัณฑิต /บัน-ดิด/ “ผู้ทรงความรู้, ผู้มีปัญญา,     ปณฺฑติ (ป., ส.) /ปนั -ดิ-ตะ/ “ผทู้ รง-
นักปราชญ์, ผู้สาเร็จการศึกษาข้ันปริญญาซึ่งมี 3   ความรู้, นักปราชญ์”
ขั้น คือ ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก
เรียกว่า บัณฑิต มหาบัณฑิต ดุษฎีบัณฑิต, ผู้มี
ความสามารถเป็นพิเศษโดยกาเนิด เช่น คนนี้
เปน็ บัณฑิตในทางเลน่ ดนตรี”

           จะเห็นไดว้ ่า เสียงพยญั ชนะของคาวา่ บณั ฑิต ของคายมื ภาษาบาลี-สนั สกฤตที่รับมาใช้ใน
ภาษาไทย เดิมภาษาบาลี-สันสกฤตใช้คาว่า ปณฺฑิต เมื่อรับมาใช้ในภาษาไทยจะเปล่ียนเสียงจาก /ป/
เป็น /บ/

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                          ภำษำบำล-ี สันสกฤต
ดรุ งค์ /ดุ-รง/ “ม้า”                            ตุรงฺค (ป., ส.) /ตุ-รัง-คะ/ “มา้ , ไปเรว็ ”

           จะเห็นได้ว่า เสียงพยัญชนะของคาว่า ดุรงค์ ของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตท่ีรับมาใช้ใน
ภาษาไทยเดมิ ภาษาบาลี-สันสกฤตใช้คาวา่ ตรุ งคฺ เมื่อรับมาใชใ้ นภาษาไทยจะเปล่ียนเสยี งจาก /ต/ เป็น
/ด/

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                          ภำษำบำล-ี สันสกฤต

พาณิชย์ /พา-นิด/ “การค้าขาย, ช่ือกระทรวงท่ีมี วาณิชฺย (ส.) /วา-นิด-ยะ/ “การคา้ ขาย,

อานาจหน้าท่ีเก่ียวกับการพาณิชย์ และกิจการทาง สินค้า”

เศรษฐกิจท่ีเกี่ยวเน่ืองกับการพาณิชย์รวมตลอดท้ัง

การซื้อขายและแลกเปลี่ยนสินค้า การควบคุมและ

ส่งเสรมิ เกยี่ วกับกิจการคา้ และการประกันภัย”
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61