Page 53 - ลักษณะภาษาไทย
P. 53

คายมื ภาษาบาลี-สนั สกฤต 9-43

           จะเห็นได้ว่า เสียงพยัญชนะต้นคายืมของคาว่า อาตมา คือ /อ-ต-ม/ ส่วนภาษาบาลี-
สันสกฤตเป็นเสียงพยัญชนะ /อ-ม/ เมื่อรับมาใช้ในภาษาไทยจะตัดเสียงพยัญชนะท้ายคาของภาษา
บาลี-สนั สกฤตออก คอื เสียง /น/ ในพยางคท์ ่ีสอง เป็นคาว่า อาตมา

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                   ภำษำบำล-ี สันสกฤต
เศรษฐี /เสด-ถ/ี “ผู้มงั่ ม,ี ผูร้ ่ารวย”  เศรฺ ษฐินฺ (ส.) /เสรฺ ส-ถิน/ “คนมัง่ ม”ี

           จะเห็นได้ว่า เสียงพยัญชนะต้นคายืมของคาว่า เศรษฐี คือ /ส-ถ/ ส่วนภาษาบาลี-
สันสกฤตเป็นเสียงพยัญชนะ /สฺร-ถ/ เมื่อรับมาใช้ในภาษาไทยจะตัดเสียงพยัญชนะท้ายคาของภาษา
บาลี-สนั สกฤตออก คือ เสียง /น/ ในพยางคท์ ่สี อง เป็นคาวา่ เศรษฐี

       1.2 กำรเตมิ เสียง คือ เม่อื นาภาษาบาลี-สนั สกฤตมาใชใ้ นภาษาไทยจะมกี ารเพิม่ เสียงลงหน้าคา
กลางคา หรือหลงั คาของศัพทเ์ ดิม ตวั อย่างเชน่

           1) การเตมิ เสียงหน้าคา

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                   ภำษำบำล-ี สันสกฤต
กระยาจก /กระ-ยา-จก/ “ยาจก, คนขอทาน”
                                          ยาจก (ป., ส.) /ยา-จะ-กะ/ “ผ้ขู อ, คน
                                          ขอทาน, ผู้รอ้ งขอ”

           จะเห็นได้วา่ เสียงหน้าคาของคาว่า กระยาจก ของคายืมภาษาบาลี-สนั สกฤตท่รี ับมาใช้ใน
ภาษาไทย เดิมภาษาบาลี-สันสกฤตใชค้ าว่า ยาจก เม่อื รับมาใช้ในภาษาไทยจะเพิม่ เสยี ง กระ ลงไป เปน็
คาวา่ กระยาจก

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                   ภำษำบำล-ี สันสกฤต
ตระกูล /ตระ-กนู / “สกุล, เชื้อสาย”        กุล (ป., ส.) /ก-ุ ละ/ “สกลุ , เชอ้ื สาย”

           จะเห็นได้ว่า เสียงหน้าคาของคาว่า ตระกูล ของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตที่รับมาใช้ใน
ภาษาไทยเดิมภาษาบาลี-สันสกฤตใช้คาว่า กลุ เมื่อรบั มาใชใ้ นภาษาไทยจะเพ่มิ เสยี ง ตระ ลงไป เป็นคา
วา่ ตระกูล
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58