Page 55 - ลักษณะภาษาไทย
P. 55

คายืมภาษาบาลี-สันสกฤต 9-45

           จะเห็นได้ว่า เสียงพยัญชนะท้ายคาของคาว่า รุกขชาติ ของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตที่
รับมาใช้ในภาษาไทย เดิมภาษาบาลี-สันสกฤตใช้คาว่า รุกฺข เม่ือรับมาใช้ในภาษาไทยจะเพิ่มเสียง
/ชาต/ิ ลงไป เป็นคาว่า รุกขชาติ

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต  ภำษำบำล-ี สันสกฤต

วญิ ญชู น /วิน-ย-ู ชน/ “บคุ คลผู้รผู้ ิดรชู้ อบตามปรกติ” วญิ ญฺ ู (ป.) /วนิ -ยู/ “ผู้รวู้ เิ ศษ, ฉลาด”

           จะเห็นได้ว่า เสียงพยัญชนะท้ายคาของคาว่า วิญญูชน ของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตที่
รับมาใช้ในภาษาไทย เดิมภาษาบาลี-สันสกฤตใช้คาว่า วิญฺญู เม่ือรับมาใช้ในภาษาไทยจะเพิ่มเสียง
/ชน/ ลงไป เปน็ คาว่า วิญญชู น

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต  ภำษำบำล-ี สันสกฤต

จนิ ตนาการ /จนิ -ตะ-นา-กาน/ “การสร้างภาพขน้ึ ในใจ” จินฺตน (ป., ส.) /จนิ -ตะ-นะ/ “คิด”

           จะเหน็ ได้วา่ เสียงพยญั ชนะท้ายคาของคาวา่ จินตนาการ ของคายมื ภาษาบาลี-สนั สกฤตที่
รับมาใช้ในภาษาไทย เดิมภาษาบาลี-สันสกฤตใช้คาว่า จินฺตน เม่ือรับมาใช้ในภาษาไทยจะเพ่ิมเสียง
/การ/ ลงไป เป็นคาวา่ จนิ ตนาการ

           การเติมเสียงท้ายคาจะทาให้คาที่เกิดขึ้นใหม่มีความหมายเพ่ิมข้ึน กล่าวคือ นอกจากคาที่
เกิดขนึ้ ใหมจ่ ะมีความหมายเพ่มิ ขึน้ แล้ว คาดงั กล่าวอาจมคี วามหมายของคาเปน็ คานาม กรยิ า คาวเิ ศษณ์
หรอื คาอนื่ ๆ กไ็ ด้

       1.3 กำรเปลยี่ นเสียง คือ การเปล่ียนเสยี งพยัญชนะเสยี งหน่งึ ไปเป็นอีกเสียงหนง่ึ เพื่อทาให้เป็น
คาท่ีมีใช้ในภาษาไทย การเปลี่ยนเสียงพยัญชนะดังกล่าวปรากฏอยู่มาก เช่น เปล่ียนจากเสียง /ก/ เป็น
เสียง /ข/, /ป/ เปน็ /บ/, /ต/ เป็น /ด/, /ว/ เป็น /พ/ ฯลฯ ซง่ึ จะยกตัวอยา่ งพอสงั เขป ตัวอย่างเชน่

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต  ภำษำบำล-ี สันสกฤต

ขนิษฐา /ขะ-นิด-ถา/ “ผูน้ อ้ ยทสี่ ุด, น้อง, น้ิวก้อย” กนิษฐา (ส.) /กะ-นิด-ถา/ “ผู้น้อยที่สุด,

                         นอ้ ง, น้วิ ก้อย”
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60