Page 52 - ลักษณะภาษาไทย
P. 52

9-42 ลกั ษณะภาษาไทย                             ภำษำบำล-ี สันสกฤต
                                                วิชชฺ า (ป.) /วิช-ชา/ “ความรูแ้ จง้ ”
       คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต
       วิชา /วิ-ชา/ “ความรู้”

           จะเห็นได้ว่า เสียงพยัญชนะต้นคายืมของคาว่า วิชา คือ /ว-ช/ ส่วนภาษาบาลี-สันสกฤต
เป็นเสียงพยัญชนะ /ว-ช/ เม่ือรับมาใช้ในภาษาไทยจะตัดเสียงพยัญชนะกลางคาของภาษาบาลี-
สันสกฤตออก คือ เสียง /ช/ ในพยางค์ทส่ี อง เป็นคาว่า วชิ า

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                         ภำษำบำล-ี สันสกฤต
วปิ ลาส /วิ-ปะ-ลาด/ “ผดิ ปกตไิ ปในทางเสอื่ ม”
                                                วิ ป ลฺ ล า ส ( ป .) /วิ -ปั ล -ล า -ส ะ /
                                                “ความคลาดเคลื่อน, ความกลับกลา,
                                                ความผันแปร”

           จะเห็นได้ว่า เสียงพยัญชนะต้นคายืมของคาว่า วิปลาส คือ /ว-ป-ล/ ส่วนภาษาบาลี-
สันสกฤตเป็นเสียงพยัญชนะ /ว-ป-ล-ส/ เม่ือรับมาใช้ในภาษาไทยจะตัดเสียงพยัญชนะกลางคาของ
ภาษาบาลี-สนั สกฤตออก คอื เสยี ง /ล/ ในพยางคท์ ีส่ อง เป็นคาว่า วปิ ลาส

           ค) การตดั เสียงพยญั ชนะท้ายคา

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                         ภำษำบำล-ี สันสกฤต
หสั ดี /หัด-สะ-ด/ี “ชา้ ง”                      หสฺตนิ ฺ (ส.) /หัส-ติน/ “ช้าง”

           จะเห็นได้ว่า เสียงพยัญชนะต้นคายืมของคาว่า หัสดี คือ /ห-ส-ด/ ส่วนภาษาบาลี-
สันสกฤตเป็นเสียงพยัญชนะ /ห-ต/ เมื่อรับมาใช้ในภาษาไทยจะตัดเสียงพยัญชนะท้ายคาของภาษา
บาลี-สันสกฤตออก คือ เสียง /น/ ในพยางค์ท่ีสอง แล้วเปล่ียนจากรูปพยัญชนะ ต และ สระอิ ในภาษา
บาลี-สันสกฤตเปน็ รปู พยัญชนะ ด และสระอี ในคายมื ภาษาบาลี-สันสกฤต เป็นคาวา่ หัสดี

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                         ภำษำบำล-ี สันสกฤต
                                                อาตฺมนฺ (ส.) /อาต-มนั / “ตน”
อาตมา /อาด-ตะ-มา/ “ตน, ตัวตน, คาใชแ้ ทน
ตวั ผู้พูดสาหรับพระภกิ ษุสามเณรพูดกบั คฤหัสถ์”
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57