Page 49 - ลักษณะภาษาไทย
P. 49

คายืมภาษาบาลี-สันสกฤต 9-39

ตอนที่ 9.3
กำรเปลยี่ นแปลงของคำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤตในภำษำไทย

โปรดอา่ นหวั เรอ่ื ง แนวคดิ และวตั ถปุ ระสงคข์ องตอนท่ี 9.3 แลว้ จึงศึกษารายละเอียดต่อไป

  หัวเรื่อง

          9.3.1 การเปลย่ี นเสยี งของคายืมภาษาบาลี-สนั สกฤต
          9.3.2 การเปลยี่ นรปู ของคายมื ภาษาบาลี-สนั สกฤต
          9.3.3 การเปลี่ยนความหมายของคายมื ภาษาบาลี-สนั สกฤต

  แนวคดิ

          1. การเปลี่ยนเสียงของคายืมภาษาบาลี-สนั สกฤตผล ประกอบด้วย 1) การเปล่ียนเสียง
            พยัญชนะ ได้แก่ การตัดเสียง การเติมเสียง และการเปล่ียนเสียง 2) การเปลยี่ นเสียง
            สระ ได้แก่ การตัดเสียงและการเติมเสียง 3) การเปล่ียนเสียงวรรณยุกต์ ได้แก่ ใส่รูป
            วรรณยกุ ตก์ ากับและไม่ใส่รปู วรรณยกุ ต์กากับ

          2. การเปล่ียนรูปของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤต ประกอบด้วย 1) การเปล่ียนรูป
            พยัญชนะ ได้แก่ พยัญชนะต้น และพยัญชนะสะกด 2) การเปลี่ยนรูปสระ เป็นการ
            เปล่ยี นรูปสระในภาษาบาลี-สันสกฤตมาเป็นรูปสระอืน่ ในคายืมภาษาบาลี-สันสกฤต

          3. การเปลี่ยนความหมายของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤต ประกอบด้วย 1) ความหมาย
            กวา้ งออก 2) ความหมายแคบเข้า และ 3) ความหมายยา้ ยที่

  วตั ถุประสงค์

          เมอื่ ศกึ ษาตอนที่ 9.3 จบแลว้ นักศกึ ษาสามารถ
          1. บอกการเปลีย่ นเสยี งของคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตได้
          2. อธิบายการเปลี่ยนรูปของคายมื ภาษาบาลี-สนั สกฤตได้
          3. ระบคุ าทเี่ ก่ยี วกบั การเปลีย่ นแปลงความหมายของคายมื ภาษาบาลี-สันสกฤตได้
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54