Page 41 - ลักษณะภาษาไทย
P. 41

คายมื ภาษาบาลี-สันสกฤต 9-31

เรื่องท่ี 9.2.2
คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤตในภำษำไทย

       คายืมภาษาบาลี-สนั สกฤตนามาใช้ในลักษณะต่างๆ กัน กล่าวคือ คายืมภาษาบาลี-สนั สกฤตที่
นามาใช้ในปจั จบุ นั นนั้ มกี ารเปลี่ยนเสียงพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์แล้ว เพื่อให้เข้ากับระบบเสียงของ
ภาษาไทย ท้ังนี้ คายืมภาษาบาลี-สันสกฤตที่รับมาใช้มีจานวนมาก ในเร่ืองนี้จะแบ่งคายืมภาษาบาลี-
สันสกฤตออกเป็น 1) คาราชาศัพท์ 2) คาที่ใช้ในศาสนาพุทธ 3) คาในวรรณคดี 4) คาสุภาพท่ีใช้ทั่วไป
5) ศพั ท์บญั ญัติ และ 6) คาเรยี กชอ่ื เฉพาะ ดงั น้ี

1. คำรำชำศัพท์

       คาราชาศัพท์ ในประเด็นนี้จะกล่าวถึงคาภาษาบาลี-สันสกฤตที่ใช้เฉพาะพระมหากษัตริย์และ
พระบรมวงศานวุ งศเ์ ท่านั้น ตัวอย่างเชน่

คำยมื ภำษำบำลี-สันสกฤต                   ภำษำบำลี-สันสกฤต
1) ชพี ติ กั ษัย “การสน้ิ ชวี ติ , ตาย”
                                         1) ชวี ิต + กฺษย อธบิ ายดังน้ี
2) ราชหัตถเลขา “จดหมาย”                     (ก) ชีวิต (ป., ส.) /ช-ี วะ-ตะ/ “อายุ; ความ-
                                                เปน็ อยู่”
                                           (ข) กฺษย (ส.) /กฺษะ-ยะ/ “ความส้ินไป”
                                            ดังนั้น ชีพิตกฺษย (ป., ส.) /ชี-พิ-ตัก-สะ-ยะ/

                                         “การสิน้ ชีวิต, ตาย”
                                         2) ราช + หตถฺ + เลขา อธิบายดังน้ี

                                           (ก) ราช (ป.) /รา-ชะ/ “พระเจา้ แผ่นดนิ ,
                                                ชนผู้รงุ่ เรือง”

                                            (ข) หตฺถ (ป.) /หัด-ถะ/ “มือ; ศอก; งวง”
                                            (ค) เลขา (ป., ส.) /เล-ขา/ “การเขียน,

                                                ตัวอักษร”
                                            ดังนน้ั ราชหตถฺ เลขา (ป., ส.) /ราด-ชะ-
                                         หดั -ถะ-เล-ขา/ “จดหมาย”
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46