Page 39 - ลักษณะภาษาไทย
P. 39

คายืมภาษาบาลี-สันสกฤต 9-29

4) กรกฎ “ปู, ช่อื กลุม่ ดาวลกู ปู”                    4) กรฺกฏ (ส.) /กระ-กะ-ตะ/ “ปู, ราศี

                                                      กรกฎ, บวบ (น้าเต้างวงช้าง)”

                                    ฯลฯ

       จากตวั อย่างคาข้างต้นจะเห็นวา่ ตัวอยา่ งท่ี 1) ถึง 4) มีการเปล่ียนรปู พยัญชนะท้ายคา กลา่ วคือ
เปลี่ยนจากรูปพยัญชนะ ฏ และ ว ในภาษาบาลี-สันสกฤตเป็นรูปพยัญชนะ ฎ และ พ ในคายืมภาษา
บาลี-สันสกฤต เช่น กรฺกฎ เป็น กรกฎ, ชีว เป็น ชีพ, เคารว เป็น เคารพ และ อานุภาว เป็น อานุภาพ
เปน็ ต้น

       - กำรเปลย่ี นรูปพยญั ชนะต้นคำ และ/หรือกลำงคำ และ/หรือท้ำยคำ

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                               ภำษำบำล-ี สันสกฤต

1) บาดาล “พ้นื ดินท่ใี ต้ระดับผวิ ดนิ ลงไป,           1) ปาตาล (ป.) /ปา-ตา-ละ/ “นาคพิภพ”

เรยี กนา้ ทสี่ ูบจากใตด้ ินที่ลึกไม่ตา่ กวา่ 10 เมตร

วา่ นา้ บาดาล, นาคพิภพเป็นที่อยขู่ องนาค”

2) พนิดา “หญิง, หญิงสาว”                              2) วนิตา (ส.) /วะ-นิ-ตา/ “หญงิ สาว

                                                      ท่วั ไป, หญิงอันเปน็ ทรี่ กั ”

3) พภิ พ “โลก, ทรพั ยส์ มบตั ิ”                       3) วิภว (ป,. ส.) /ว-ิ ภะ-วะ/

                                                      “สมบตั ิ, อานาจ, ความไมม่ ีไม่เป็น,

                                                      ความเสื่อม”

                                    ฯลฯ

       จากตัวอย่างคาข้างต้นจะเห็นว่า ตัวอย่างท่ี 1) ถึง 3) มีการเปล่ียนรูปพยัญชนะทั้งรูปพยญั ชนะ
ต้นคา และ/หรือกลางคา และ/หรือท้ายคา กล่าวคือ เปลี่ยนรูปพยัญชนะต้นคาและกลางคา จากรูป
พยัญชนะ ป และ ต ในภาษาบาลี-สันสกฤตเป็นรูปพยัญชนะ บ และ ด ในคายืมภาษาบาลี-สันสกฤต
เช่น ปาตาล เป็น บาดาล หรือจากรูปพยัญชนะ ว และ ต ในภาษาบาลี-สันสกฤตเป็นรูปพยัญชนะ พ
และ ด ในคายมื ภาษาบาลี-สันสกฤต เชน่ วนติ า เปน็ พนดิ า เปน็ ต้น

       นอกจากนี้ยังปรากฏการเปลี่ยนรูปพยัญชนะต้นคาและท้ายคา จากรูปพยัญชนะ ว และ ว ใน
ภาษาบาลี-สันสกฤตเป็นรูปพยัญชนะ พ และ พ ในคายืมภาษาบาลี-สันสกฤต เช่น วิภว เป็น พิภพ
ดังท่ีกล่าวไปแล้วน้ันเป็นเพียงตัวอย่างท่ีแสดงถึงลักษณะของการยืมโดยเปล่ียนรูปศัพท์ในลักษณะท่ี
แตกตา่ งกัน
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44