Page 34 - ลักษณะภาษาไทย
P. 34

9-24 ลกั ษณะภาษาไทย

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต              ภำษำบำล-ี สันสกฤต

1) อนาจาร “ความประพฤตชิ ั่ว”         1) อนาจาร (ป., ส.) /อะ-นา-จา-ระ/

                                     “ความประพฤตชิ ั่ว”

2) กฐิน “ผ้าพิเศษท่ีพระพุทธเจ้าทรงอนุญาต 2) กฐิน (ป., ส.) /กะ-ถิ-นะ/ “ผ้าพิเศษท่ี

แก่ภิกษสุ งฆเ์ ฉพาะกฐินกาล”          พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตแก่ภิกษุสงฆ์

                                     เฉพาะกฐนิ กาล”

3) อนลิ “ลม”                         3) อนลิ (ป., ส.) /อะ-นิ-ละ/ “ลม”

4) โมหะ “ความหลง, ความเขลา”          4) โมห (ป., ส.) /โม-หะ/ “ความหลง, ความโง่,

                                     ความไมร่ ”ู้

5) ขจิต “ประดบั , ตกแตง่ ”           5) ข จิ ต ( ป . ) /ข ะ -จิ -ต ะ / “ป ร ะ ดั บ ,

                                     ตกแตง่ ”

6) อธิการ “ตาแหน่งสูงสุดของผู้บริหารใน 6) อธิการ (ป., ส.) /อ-ธิ-กา-ระ/ “การ

วทิ ยาลัย”                           กระทาย่ิง (อานาจ, การปกครอง, สิทธิ,

                                     หนา้ ที)่ ”

7) คีต “เพลงขับ, การขบั รอ้ ง”       7) คีต (ป., ส.) /ค-ี ตะ/ “เพลงขบั , การขับร้อง”

8) จาริก “ผู้ท่องเท่ียวไปเพ่ือส่ังสอนหรือ 8) จาริก (ป., ส.) /จา-ริ-กะ/ “เดินไป,

แสวงบุญ เปน็ ตน้ ”                   เท่ียวไป”

9) ทายก “ผู้ให้”                     9) ทายก (ป.) /ทา-ยะ-กะ/ “ผใู้ ห้”

10) นนิ ทา “ติเตียนลบั หลงั ”        10) นนิ ฺทา (ป.) /นนิ -ทา/ “ตเิ ตยี นลบั หลงั ”

                                ฯลฯ

       1.2 คำยมื ท่ีมรี ูปศัพท์ใกล้เคยี งกบั ภำษำบำลี-สันสกฤต เป็นคายืมในภาษาบาลี-สันสกฤตทค่ี งรูป
ศัพท์เดิมไว้ส่วนหน่ึง แต่มีความแตกต่างของอักขรวิธีการเขียนอยู่บ้าง เม่ืออ่านออกเสียงก็จะออกเสียง
แตกตา่ งกนั ตวั อย่างเช่น
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39