Page 33 - ลักษณะภาษาไทย
P. 33

คายมื ภาษาบาลี-สันสกฤต 9-23

เร่ืองที่ 9.2.1
กำรยมื คำภำษำบำล-ี สันสกฤตมำใช้ในภำษำไทย

       คายืมภาษาบาลี-สันสกฤตส่วนใหญ่แล้วจะยืมท้ังวิธีการยืมรูปศัพท์ การยืมเสียง การยืมโดย
เปลี่ยนรูปศัพท์ และการเติมรูปวรรณยุกต์ ด้วยเหตุดังข้างต้นลักษณะการยืมคาภาษาบาลี-สันสกฤต
มาใช้ในภาษาไทยจงึ มีการถ่ายรปู พยัญชนะจากภาษาบาลี-สันสกฤตเป็นคาไทยโดยให้มีความใกล้เคียง
กับรูปศัพท์เดิม ทั้งนี้รูปศัพท์อาจเกิดการเปล่ียนแปลงหรือคงรูปศัพท์เดิมไว้ แต่บางรูปศัพท์เม่ืออ่าน
ออกเสียงตามคาไทยแลว้ กจ็ ะอ่านต่างกันไปด้วย

       เมื่อไทยรับคายืมภาษาบาลี-สันสกฤตมาใช้แล้วอาจมีการเปล่ียนแปลงจากคาเดมิ หลายประการ
เช่น ตดั เสียงอะทา้ ยคาออก เปลี่ยนเสยี งพยัญชนะตน้ คา พยัญชนะกลางคา และพยญั ชนะทา้ ยคามาเป็น
เสียงท่ไี ทยนยิ มใช้ เปน็ ตน้

1. ยมื รูปศัพท์

       การยืมรูปศัพท์ คือ การยืมคามาด้วยวิธีการเปลี่ยนคาจากพยัญชนะบาลี-สันสกฤตมาสู่
พยญั ชนะภาษาไทย ดังน้ี

       1.1 คำยมื ที่ไม่เปลยี่ นแปลงรูปศัพท์ เป็นคายืมในภาษาบาลี-สันสกฤตทมี่ ีรูปเขียนเหมือนกับคา
ในภาษาบาลี-สันสกฤต เว้นเสียแต่ว่าการอ่านออกเสียงจะมีความต่างกันตามลักษณะของภาษา
ตัวอยา่ งเช่น
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38