Page 29 - ลักษณะภาษาไทย
P. 29

นร +        สหี  เป็น นรสีห         คายมื ภาษาบาลี-สันสกฤต 9-19

คช +        ลกษฺ ณ เป็น คชลักษณ์    “คนทเี่ กง่ กลา้ ดุจราชสหี ์, สัตว์
ทิพฺพ +     จกขฺ ุ เป็น ทพิ จกั ขุ   หิมพานตพ์ วกหนงึ่ ท่อนบน
                                     เป็นมนษุ ย์ผู้ชาย ท่อนล่าง
                                     เป็นราชสีห์”
                                    “รปู พรรณสัณฐานของชา้ ง”
                                    “ตาทพิ ย์ คอื จะดอู ะไร
                                     เหน็ ได้ทัง้ หมด”

       ท้ังน้ี การสนธไิ ม่ใช่การสรา้ งคาใหม่ แต่ในการสร้างคาใหม่บางครั้งเมอื่ ต้องนาคามาประกอบกัน
หรอื ตอ่ เนอ่ื งกนั จะต้องสนธดิ ้วย เพ่อื ใหเ้ ป็นไปตามระบบเสียงทจ่ี ะตอ่ เน่ืองกันได้ เช่น สระกบั สระเชอ่ื มตอ่
เป็นเสียงเดียวกัน สระกับพยัญชนะเช่ือมต่อเป็นเสียงเดียวกัน หรือพยัญชนะกับพยัญชนะเชื่อมต่อ
เป็นเสียงเดยี วกัน (สทุ ธวิ งศ์ พงศไ์ พบูลย์, 2526, น. 65) กล่าวคือ สนธเิ ปน็ การเช่ือมเสียงทา้ ยคาหน้ากบั
เสียงต้นของคาท่ีตามมาให้เป็นเสียงที่กลมกลืนกันเข้ากัน ทั้งนี้ เพื่อให้ออกเสียงได้สะดวกและเกิด
ความไพเราะ การเชื่อมเสียงนี้จึงไม่จากดั เฉพาะอย่างคาสมาสเท่าน้ัน แต่อาจเป็นไปในลักษณะของธาตุ
กับปัจจัย อุปสรรคกับศัพท์ ศัพท์กับศัพท์ หรือบทเป็นบท ขึ้นอยู่กับเสียงท้ายของคาต้นกับเสียงต้นของ
คาท่ีตามมาและมาอยู่ชิดกัน และสามารถท่ีจะกลมกลืนเสียงกันได้ หากกลมกลืนเสียงไม่ได้ก็ ต้องมี
การเปล่ียนแปลงเสยี งทา้ ยของคาต้น (บรรจบ พนั ธุเมธา, 2523, น. 27)

       3.4 กำรสร้ำงคำโดยวิธีเตมิ อุปสรรค อุปสรรค (Prefix) ใช้สาหรับเติมหน้าศัพท์คาอื่น เม่ือเติม
แล้วจะเกิดคาใหม่ มีความหมายเปลี่ยนไปตามตัวอุปสรรคท่ีเติม ดังนั้น การเติมอุปสรรคจะนาไป
ประกอบหน้าธาตุ ศัพท์ กจ็ ะเกิดความหมายใหม่ อุปสรรคในภาษาบาลแี ละภาษาสนั สกฤตมี 20 ตวั มที ง้ั
ที่ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตใช้เหมือนและใช้ต่างกัน (วิสันติ์ กฏแก้ว, 2545, น. 95-96 และปรีชา
ทิชินพงศ์, 2530, น. 71-72) มดี ังน้ี

ภำษำบำลี    ภำษำสันสกฤต      ควำมหมำย

1. อติ      อติ              “ยง่ิ , ใหญ,่ เกิน”
2. อธิ      อธิ              “ยิ่ง, ใหญ,่ เฉพาะ, ข้างหนา้ ”
3. อนุ      อนุ              “ตาม, หลงั , น้อย”
4. อป       อป               “ปราศจาก, หลีก”
5. อปิ, ปิ  อปิ, ปิ          “ใกล,้ บน, ถึง”
6. อภิ      อภิ              “ยิ่ง, เกิน, ล่วง”
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34