Page 31 - ลักษณะภาษาไทย
P. 31

13. นิ   + พาน                     คายืมภาษาบาลี-สันสกฤต 9-21
  นสิ ฺ  + มล
         + กติ    เปน็ นิพพฺ าน “ความดบั กิเลสและกองทุกข์”
14. ป    + กาศ    เปน็ นริ ฺมล “ไมม่ ีมลทนิ ”
  ปรฺ    + เสธ    เป็น ปกติ “ความคงท่ี”
         + ชญฺ า  เปน็ ปฺรกาศ “ปา่ วร้อง, แจ้งให้ทราบทั่วไป”
15. ปฏิ  + ชย     เป็น ปฏิเสธ “ไม่รับ, ไมย่ อมรับ”
  ปฺรติ  + มณฑล   เป็น ปรฺ ตชิ ญฺ า “คามน่ั สัญญา”
         + สญฺญี  เป็น ปราชย “ความพา่ ยแพ้”
16. ปรา  + คม     เปน็ ปรมิ ณฑล “บรเิ วณรอบๆ ”
17. ปริ  + พนฺธ   เป็น วสิ ญญฺ ี “หมดความร้สู ึก, หมดสติ”
18. วิ   + คติ    เป็น สงคฺ ม “การไปพรอ้ ม, การเก่ียวขอ้ ง”
19. ส             เป็น สมฺพนธฺ “การเช่ือม, การสมาน”
                  เป็น สคุ ติ “ภูมทิ ี่ไปดี, การไปดี”
  สมฺ
20.สุ

กจิ กรรม 9.1.2

       คาภาษาบาลี-สันสกฤตตอ่ ไปนเี้ ป็นการสรา้ งคาลักษณะใด
       1. โจรภัย
       2. ภิกขุ
       3. สนุ ทรีย
       4. อภชิ าต
       5. สุคติ

แนวตอบกจิ กรรม 9.1.2

       คาภาษาบาลี-สนั สกฤตตอ่ ไปนม้ี ลี ักษณะการสร้างคา ดังน้ี
       1. โจรภยั สรา้ งโดยวิธสี มาส
       2. ภิกขุ สรา้ งโดยวธิ ีกฤต
       3. สนุ ทรยี สร้างโดยวิธตี ัทธิ
       4. อภิชาต สรา้ งโดยวธิ ีเตมิ อปุ สรรค
       5. สคุ ติ สรา้ งโดยวธิ ีเตมิ อุปสรรค
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36