Page 26 - ลักษณะภาษาไทย
P. 26

9-16 ลกั ษณะภาษาไทย

- ภาษาสันสกฤตใช้ ศ ษ แต่ภาษาบาลีใช้ ส ตวั อยา่ งเช่น

ภำษำสันสกฤต          ภำษำบำลี  ควำมหมำย

1) ศต                สต        “หนึ่งรอ้ ย”
2) ศกุน              สกุณ      “นก”
3) ศาสน              สาสน      “คาสั่งสอน, คาสง่ั , ข่าวสาร”
4) กาษาย             กาสาว     “น้าฝาด, สฝี าด, ผ้าย้อมน้าฝาด”
5) ษณฑฺ              สณฑฺ      “แนว”

- ภาษาสันสกฤตจะใช้ ฒ ฑ หรือ ล แต่ภาษาบาลีใช้ ฬ ตัวอยา่ งเช่น

ภำษำสันสกฤต          ภำษำบำลี  ควำมหมำย

1) อาษาฒ             อาสาฬฺห   “เดอื นท่ี 8 แห่งเดือนจันทรคติ”
2) จูฑา              จฬู า     “จุก โดยปริยายหมายถึงท่ีสูงสุดของศีรษะ
                                เช่น ยอด หัว มงกุฎ จุฑา ก็ว่า ชื่อว่าว
3) กรฺ ฑี า          กฬี า      ชนิดหนง่ึ มรี ูปร่าง 5 แฉก หัวแหลม คู่กบั
                                ว่าวปักเปา้ ว่าวกุลา ก็เรียก”
4) วฑิ าล            พิฬาร     “การเล่น, ความร่าเริง, กิจกรรมหรือ
5) นลนิ              นฬนิ       การละเลน่ เพือ่ ความสนุกเพลดิ เพลนิ ”
                               “แมว”
                               “ดอกบวั ”

            - ภาษาสันสกฤตมีการใช้ รฺ (ร เรผะ) แต่ภาษาบาลีไม่มีใช้ โดยภาษาบาลีจะใช้พยัญชนะ
ตวั สะกดซ้าอีกคร้ัง ตัวอยา่ งเช่น

ภำษำสันสกฤต          ภำษำบำลี  ควำมหมำย
1) ธรฺม              ธมมฺ
                               “คณุ ความดี, ความจรงิ , คาสัง่ สอน
2) กรฺม              กมมฺ       ในศาสนา”
3) วรคฺ              วคฺค      “การกระทา, การงาน, กจิ ”
                               “พวก”
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31