Page 22 - ลักษณะภาษาไทย
P. 22

9-12 ลักษณะภาษาไทย

       และรวมกับพยญั ชนะอวรรค (เศษวรรค) อีก 8 ตวั คือ ย ร ล ว ส ห ฬ และ -อ (นิคหิต “ ”)
       1.2 สระและพยญั ชนะในภำษำสันสกฤต

           สระภาษาสันสกฤตมี 14 ตัว ได้แก่ อะ อา อิ อี อุ อู ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ เอ ไอ โอ และ เอา
แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 1) รัสสระ (สระท่ีมีเสียงส้ัน) ได้แก่ อะ อิ อุ ฤ ฦ ไอ เอา และ 2) ทีฆสระ
(สระท่ีมเี สยี งยาว) ได้แก่ อา อี อู ฤๅ ฦๅ เอ โอ

           พยัญชนะภาษาสันสกฤตมี 35 ตัว เพ่ิมเติมจากภาษาบาลี คือ ศ และ ษ และรวมกับ
พยญั ชนะอวรรค (เศษวรรค) อกี 8 ตวั คือ ย ร ล ว ส ห ฬ และ (-อ สัญลักษณ์ นคิ หิต “ ”)7

2. ควำมแตกต่ำงระหว่ำงภำษำบำล-ี สันสกฤต

       ภาษาบาลี-สันสกฤตมีความคล้ายคลึงกันส่วนใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นสระและพยัญชนะ แต่ก็ยัง
ปรากฏความแตกต่างกันเพื่อให้สามารถจาแนกได้ว่า คาใดเป็นภาษาบาลี และคาใดเป็นภาษาสันสกฤต
ดังท่ี ประยรู ทรงศิลป์ (2526, น. 90-98) และสุทธวิ งศ์ พงศ์ไพบลู ย์ (2526, น. 111-125) กล่าวไว้พอสรปุ
ความแตกต่างได้ 2 ดา้ นสาคญั คอื ด้านการใช้สระและด้านการใชพ้ ยญั ชนะ ดงั น้ี

       2.1 ด้ำนกำรใช้สระ การใชส้ ระของภาษาสนั สกฤตและบาลีมีความแตกตา่ งกันหลายลกั ษณะ ดังนี้
           - ภาษาสันสกฤตใช้ตวั ฤ ภาษาบาลีใช้เสียง อะ อิ อุ ตัวอย่างเช่น

ภำษำสันสกฤต ใช้ ฤ  ภำษำบำลี ใช้ เสียงอะ ควำมหมำย

1) อมฤต            อมต “ไมต่ าย, ธรรมชาติอันไม่ตาย”
2) กฤฺ ษณฺ         กณฺห “ดา, ความชว่ั , บาป”
3) คฤห             คห “เรือน”
4) หฤทย            หทย “หวั ใจ, ใจ”
5) ปฤถฺวี          ปฐวี “แผ่นดนิ ”

ภำษำสันสกฤต ใช้ ฤ  ภำษำบำลี ใช้ เสียงอิ           ควำมหมำย

1) ฤทฺธิ           อทิ ธฺ ิ                       “ความสาเร็จ”
2) ฤษิ             อสิ ิ                          “ผู้แสวง, นักบวช”
3) ตฤณ             ตณิ                            “หญา้ ”

7 ดเู พ่มิ เติมจากตารางแสดงฐานที่เกิดของภาษาบาลี
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27