Page 23 - ลักษณะภาษาไทย
P. 23

คายืมภาษาบาลี-สนั สกฤต 9-13

4) ทฤฺ ษฺฎิ        ทิฏฐฺ ิ               “ความเห็น, หลักท่ีนักปราชญ์วางไว้”
5) ศฤงคฺ าร        สงิ ฺคาร              “ความใคร่, ความรกั ”

ภำษำสันสกฤต ใช้ ฤ  ภำษำบำลี ใช้ เสียงอุ  ควำมหมำย

1) ฤตุ             อตุ ุ                 “หนา้ , คราว”
2) มฤษา            มสุ า                 “กล่าวเทจ็ ”
3) ปฤจฺฉา          ปุจฺฉา                “การถาม, คาถาม”
4) วฤทธฺ ิ         วุฑฒฺ ิ               “ความเจรญิ , ความสมบูรณ์”
5) ปีตฺฤ           ปิตุ                  “บดิ า”

- ภาษาสันสกฤตใช้สระ ไอ ภาษาบาลใี ช้สระ เอ ตัวอยา่ งเชน่

ภำษำสันสกฤต        ภำษำบำลี              ควำมหมำย

1) ไวร             เวร                   “บาป, ความแคน้ ใจ”
2) ไมตรฺ ี         เมตฺติ                “ความเป็นเพอื่ นกนั , ความหวงั ดี,
                                          ความรกั , ความเอน็ ดู”
3) ไศล             เสล                   “ภเู ขา, หนิ , กอ้ นหนิ ”
4) ไอราวณ          เอราวณ                “ชา้ ง 33 เศยี รเปน็ พาหนะของพระอนิ ทร์”
5) ไภษชฺย          เภสชฺช                “ยาแกโ้ รค”

- ภาษาสันสกฤตใช้สระ เอา ภาษาบาลีใช้สระ โอ ตัวอย่างเช่น

ภำษำสันสกฤต        ภำษำบำลี              ควำมหมำย

1) เอารส           โอรส                  “ลกู ชาย”
2) เกาศล           โกสล                  “ฉลาด, ดงี าม”
3) เปาราณ          โปราณ                 “เกา่ ”
4) เคาตม           โคตม                  “ช่ือฤๅษีผู้มีสกุลแห่งอังคีรส, ช่ือสาวก
                                          ผู้ใหญข่ องพระมหาวีระ (ในศาสนาเชน),
                                          นามพระวงศ์ (นามสกลุ ) ของพระพทุ ธ-
                                          เจา้ (เหมือน โคตมะ) ”
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28