Page 19 - ลักษณะภาษาไทย
P. 19

คายืมภาษาบาลี-สนั สกฤต 9-9

       จากจารึกข้างต้นจะเห็นได้ว่า เมืองสุโขทัยเต็มไปด้วยวัดวาอาราม พระพุทธรูปท่ีงดงาม มีภิกษุ
จาพรรษา มีพระเถรและพระมหาเถระอยู่ด้วย เป็นเมืองที่ศาสนาเจริญรุ่งเรือง และที่สาคัญพ่อขุน-
รามคาแหงมหาราชทรงอุปถัมภ์ศาสนาและยังได้นิมนต์พระสังฆราชมาจากเมืองนครศรีธรรมราชมายัง
สุโขทัยด้วย

       ประกำรทสี่ อง สำเหตทุ ่ีเกย่ี วกบั วฒั นธรรม กลา่ วคือ เมื่อพอ่ ค้าชาวอินเดยี และพราหมณ์เดนิ เรือไป
ทาค้าขายยังประเทศใดก็มักจะนาเอาศาสนาพราหมณ์ วัฒนธรรม และศิลปกรรมต่างๆ ของตนไปด้วย
ภาษาสันสกฤตจึงเป็นภาษาหน่ึงท่ีบันทึกเร่ืองราวต่างๆ ไว้ ทาให้ภาษาสันสกฤตเข้ามาแพร่หลายอยู่ใน
ภาษาไทย

       ประกำรที่สำม สำเหตุที่เกี่ยวกับวรรณคดี กล่าวคือ วรรณคดีอินเดียมีอิทธิพลและส่งผลต่อ
วรรณคดีไทยอย่างมาก เช่น ได้รับเค้าเรื่องมาจากชาดกในพุทธศาสนา เห็นได้จาก ร่ายยาวมหาเวส-
สันดรชาดก มหาชาตคิ าหลวงและกาพย์มหาชาติ ตา่ งก็ได้เค้าเร่อื งมาจาก มหาเวสสฺ นฺตรชาตก

       นอกจากนี้ ยังมีอีกหลายเรื่อง เช่น เสือโคคาฉันท์ ได้เค้าเรื่องมาจาก พหลาคาวีชาตก, พระ-
รถเสน ได้เค้าเรือ่ งมาจาก รถเสนชาตก, พระสุธน นางมโนห์รา ได้เคา้ เรอื่ งมาจาก สุธนชาตก เป็นตน้ ซ่ึง
เร่ืองข้างตน้ แตง่ ดว้ ยภาษาบาลี

       ประกำรสุดท้ำย สำเหตุที่เกย่ี วกับศัพท์บัญญัติ กล่าวคือ ในสังคมปัจจุบันวิทยาการเจริญก้าวหน้า
ไปมาก ศัพท์ที่เกิดข้ึนใหม่ๆ โดยเฉพาะศัพท์ที่มาจากภาษาอ่ืน เช่น ภาษาอังกฤษ การท่ีเราจะทับศัพท์
และใช้ภาษาอังกฤษทันทีน้ันคงจะไม่เหมาะ ภาษาบาลี-สันสกฤตเป็นอีกภาษาหน่ึงท่ีเข้ามาปะปนใน
ภาษาไทยเป็นเวลานาน จึงทาให้เกิดการบัญญัติศัพท์ข้ึนเพ่ือใช้เรียกแทนคาคาหนึ่งท่ีมาจาก
ภาษาตา่ งประเทศอ่ืน นัน่ เอง

กจิ กรรม 9.1.1
       1. ขอ้ ความตอ่ ไปน้สี ะท้อนสง่ิ ใดเป็นสาคญั

          …กลางเมืองสุโขทัยนี้มีพิหาร มีพระพุทธรูปทอง มีพระอัฏฐารส มีพระพุทธรูป
  มพี ระพทุ ธรูปอันใหญ่ มีพระพทุ ธรูปอันราม มพี หิ ารอนั ใหญ่ มพี หิ ารอนั ราม มปี คู่ รมู เี ถร มมี หาเถร
  เบ้ืองตะวันตก เมืองสุกโขทัยนี้มีอรัญญิก พ่อขุนรามคาแหงกระทาโอยทานแก่มหาเถรสังฆราช
  ปราชญเ์ รียนจบปิฎกไตรหลวกกว่าปู่ครใู นเมืองน้ที กุ คนลกุ แตเ่ มืองศรธี รรมราชมา…

       2. สาเหตทุ ี่ทาให้ภาษาบาลี-สนั สกฤตเข้ามายงั ประเทศไทยมอี ะไรบา้ ง
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24