Page 25 - ลักษณะภาษาไทย
P. 25

4) กานฺต     กนตฺ                       คายมื ภาษาบาลี-สนั สกฤต 9-15
5) ปฺราชญฺ   ปญฺญ
                       “เป็นท่รี ัก”
                       “มคี วามรู้, คงแก่เรยี น”

       2.2 ด้ำนกำรใช้พยัญชนะ การใช้พยัญชนะของภาษาสันสกฤตและบาลีมีความแตกต่างกัน
หลายลกั ษณะ ดังน้ี

            - ภาษาสันสกฤตและภาษาบาลีจะใช้พยัญชนะเดี่ยวในตาแหน่งต่างๆ เหมือนกัน ท้ังน้ีมี
ข้อจากัดตรงท่ีภาษาสันสกฤตสามารถใช้พยัญชนะเด่ียวเป็นตัวสะกดท้ายคาศัพท์ได้ แต่เมื่อนามาใช้ใน
ภาษาบาลีจะตัดเสียงพยัญชนะท้ายคาศัพท์ดังกล่าวออก และจะเพ่ิมความยาวของเสียงสระหรือไม่เพิ่ม
กไ็ ด้ ตวั อยา่ งเช่น

ภำษำสันสกฤต  ภำษำบำลี  ควำมหมำย

1) มนสฺ      มน        “ใจ”
2) สฺวามินฺ  สามิ      “ชายทีเ่ ปน็ คู่ครองของหญิง, เจา้ นาย,
                       ผ้เู ปน็ ใหญ่, เจ้าของ”
3) อายุสฺ    อายุ      “เวลาที่ดารงชีวติ อยู่, เวลาชว่ั ชีวิต”
4) เตชสฺ     เตช       “เดช, อานาจ, ความรอ้ น, ไฟ”
5) ตปสฺ      ตป        “ความร้อน, ธรรมเครอ่ื งเผาบาป”

            - การเพิ่มเสียงสระในคาศัพท์ เพ่ือให้มีจานวนพยางค์ท่ีเพิ่มข้ึนและสามารถนาคาศัพท์
ดังกล่าวไปใช้ในบริบทอื่นๆ โดยเฉพาะการแต่งคาประพันธ์ท่ีต้องการจานวนพยางค์ให้ตรงตาม
ฉนั ทลักษณ์และยังเปลยี่ นแปลงความหมายของคาได้อกี ด้วย ตวั อยา่ งเชน่

ภำษำสันสกฤต  ภำษำบำลี  ควำมหมำย

1) กามิน     กามินี    “ชาย (ส.), หญงิ ทัว่ ไป (ป.)”
2) กรินฺ     กิรินี    “ชา้ ง, ชา้ งพลาย (ส.), ช้างพัง (ป.)”
3) วาทิน     วาทินี    “คนเล่นดนตรี (ส., ป.)”
4) กรฺ ยิ า  กิรยิ า   “การกระทา (ส., ป.)”
5) สริตฺ     สริตา     “แม่น้า, ลาธาร (ส.), ผู้ท่ีระลกึ ถงึ
                       สายน้า (ป.)”
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30