Page 28 - ลักษณะภาษาไทย
P. 28

9-18 ลกั ษณะภาษาไทย

ปา (ดม่ื ) + ยุ ปัจจัย                  เปน็ ปานะ       “เคร่ืองดมื่ , นา้ สาหรับดืม่ ”
กนฺ (สอ่ งสวา่ ง)+ ณฺวฺ ปัจจัย          เปน็ กนก        “ทองคา”

2) กรยิ าศพั ท์ เกิดจากการนาธาตมุ าเติมปจั จยั กรยิ ากฤต ซ่งึ จะใช้เป็นคากริยา ตวั อยา่ งเชน่

ธำตแุ ละควำมหมำย           ปัจจยั รูปสำเร็จ             ควำมหมำย

ภาษฺ (กล่าว) +             ต ปจั จัย เปน็ ภาษติ         “กล่าวแล้ว”
ลิขฺ (เขยี น, สลัก) +
มรฺ (ตาย) +                ต ปจั จยั เป็น ลขิ ติ        “เขียนแล้ว”
กรฺ (ทา) +
ปา (ดม่ื ) +               ต ปัจจัย เปน็ มตะ            “ตายแล้ว”

                           อนยี ปัจจยั เปน็ กรณยี ์, กรณยี ะ “อันพงึ ทา”

                           อนีย ปจั จัย เปน็ ปานยี ะ    “เครอื่ งด่ืม, น้าสาหรบั ด่ืม”

       3.2 กำรสร้ำงคำโดยวธิ ีตัทธิต เป็นการสร้างคาโดยใช้ปัจจัยประกอบเข้าข้างท้ายคาศัพท์ท่ีเกิด
จากการสร้างคาวิธีท่ี 1 (การสร้างคาโดยวิธีกฤต) ทาให้ศัพท์ท่ีเกิดขึ้นใหม่มีความหมายท่ีแตกต่างกัน
ออกไป ตัวอยา่ งเชน่

ศัพท์และควำมหมำย ปัจจยั                 รูปสำเร็จ       ควำมหมำย

ปญจฺ (ห้า) + ม ปัจจยั                   เปน็ ปญฺจม      “ที่ห้า”
มธุ (นา้ หวาน, นา้ ผง้ึ ) + ร ปจั จยั   เปน็ มธุร       “ความหวาน, ความไพเราะ,
                                                         หวาน, ไพเราะ”
ปกษฺ (ปีก) +               อนิ ปจั จยั  เป็น ปกฺษนิ     “ผู้มปี กี (นก)”
มชฺฌ (ทา่ มกลาง) +         อมิ ปจั จัย  เปน็ มชฌฺ ิม    “กลาง, ปานกลาง”
สุนทฺ ร (ดี, งาม) +        อีย ปัจจยั   เป็น สุนทฺ รยี  “ทีต่ ง้ั แหง่ ความงาม”
นาวา (เรอื ) +             ณิก ปัจจยั   เปน็ นาวิก      “ผู้ขา้ มด้วยเรือ”

       3.3 กำรสร้ำงคำโดยวิธีสมำส เป็นการสร้างคาโดยการนาศัพท์กับศัพท์มาประกอบกันเป็น
คาเดียวกัน ทาใหเ้ กิดความหมายใหม่ขึน้ ตวั อย่างเช่น

โจร +                  ภย              เปน็ โจรภยั      “ภัยจากโจร”
                                                        “คาพดู อนั ไพเราะ”
สุนฺทร + วจน เป็น สนุ ทฺ รวจน
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33