Page 36 - ลักษณะภาษาไทย
P. 36

9-26 ลักษณะภาษาไทย

4) กระลู่น์ “นา่ สงสาร”                    4) กลูน (ป.) /กะ-ลู-นะ/ “นา่ สงสาร”

5) อตุ สา่ ห์ “ความบากบัน่ , ความพยายาม, 5) อุตฺสาห (ป.) /อดุ -สา-หะ/ “ความบากบั่น,

ความขยนั ,ความอดทน”                        ความพยายาม, ความขยัน, ความอดทน”

                                      ฯลฯ

3. ยมื เสียง

       การยมื เสยี งเป็นการนาคาภาษาบาลี-สนั สกฤตมาใช้โดยออกเสียงให้ใกล้เคียงกับศพั ทเ์ ดิม ทงั้ นี้
ภาษาบาลี-สันสกฤตมีท้ังเสียงสระที่เหมือนกันและท่ีแตกต่างกัน ดังนั้น ถ้าเสียงสระที่เหมือนกันและ
ไม่ขัดกับโครงสร้างคาไทย คายืมภาษาบาลี-สันสกฤตบางคาก็จะใช้เสียงสระตรงกัน (สาโรจน์
บัวพันธง์ุ าม, 152, น. 152) แต่หากไม่สามารถออกเสยี งให้ใกล้เคียงกบั ศพั ทเ์ ดมิ ได้ก็จะเปล่ยี นเสียงสระท่ี
มีในภาษาไทย หรือตัดเสียงสระจากศัพท์เดิมออกบางส่วนเพ่ือให้สะดวกในการออกเสียง และยังคง
ความหมายของศัพท์เดิมนั้นอยู่ ขณะที่รูปศัพท์ใหม่จะต่างไปจากรูปศัพท์เดิมบ้างตามธรรมชาติและ
ลกั ษณะของเสียงสระท่ีเปล่ียนไป ตวั อย่างเช่น

คำยมื ภำษำบำล-ี สันสกฤต                       ภำษำบำล-ี สันสกฤต
1) ชาตะ “เกดิ ”
2) มตะ “คนตาย, ตายแล้ว”                       1) ชาต (ป., ส.) /ชา-ตะ/ “เกดิ แล้ว”
3) มรณะ “ความตาย”                             2) มต (ป.) /มะ-ตะ/ “ความตาย, ตายแลว้ ”
4) ภาชนะ “เครอ่ื งใช้สาหรบั ใสข่ อง”          3) มรณ (ป., ส.) /มะ-ระ-นะ/ “ความตาย”
                                              4) ภาชน (ป., ส.) /พา-ชะ-นะ/
5) ลักษณะ “สมบตั ิเฉพาะตวั ”
                                                 “เครอ่ื งใชส้ าหรับใสข่ อง หมอ้ ถ้วย จาน
                                                 การแจก การจาแนก”
                                              5) ลกษฺ ณ (ส.) /ลกั -สะ-นะ/
                                                 “เครอื่ งหมาย, ส่ิงสาคญั ”
                                           ฯลฯ

       จะเห็นได้ว่า การยืมรูปศัพท์ การเติมรูปวรรณยุกต์ และการยืมเสียงในภาษาบาลี-สันสกฤต
มีความสัมพันธ์กัน คาภาษาบาลี-สันสกฤตที่ใช้ในภาษาไทยส่วนใหญ่จะปรากฏลักษณะดังกล่าว
กล่าวคือ การยืมรูปศัพท์ มีท้ังที่เปลี่ยนแปลงรูปศัพท์ และคล้ายกับรูปศัพท์เดิม หรือแม้กระทั่ง
การยืมเสียงที่มีท้ังการคงเสียงให้ใกล้เคียงกับศัพท์เดิม เช่น ตัดเสียงสระ หรือเพิ่มเสียงสระ รวมถึง
การเตมิ รปู วรรณยกุ ต์ จนเกิดการเปลี่ยนแปลงรปู ศพั ท์เดมิ ไป
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41