Page 87 - คำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม เอกสารจากหอหลวง
P. 87

57  คำให้การขนุ หลวงวัดประดู่ทรงธรรม

                     เอกสารจากหอหลวง

แล​มหา​ภัย​พิบัติ​ใน​อิท​โลกย์​ประ​โลกย์ ปัญญาก็​จะ​รุ่งเรือง​ระงับ​ความ​ร้อน​ได้​
ในค​ รั้ง ๑ ก็จ​ะเ​ป็น​ที่​พึ่ง​ของจ​ตุบ​ รรพส​ ัตว์​สืบไป​ใน​ราชอ​ าณาจักร

      ข้อ ๓ 	ผเู​้ ปน็ เ​สว​ะก​าม​ าตยร​์ าชป​ รนิ ายกพ​ งึ ใ​หค​้ ำร​พ กตญั ญต​ู อ่ บรม​
มิตร ทั้ง ๑๐ ประการ คือ พระพุทธเจ้า ๑ พระป​ ัจเ​จตโ​พธิ์​เจ้า ๑ พระ​ธรรม​
เจ้า ๑ พระอ​ ริยส​ งฆ์ ๑ พระ​มหา​กษัตริย์ ๑ บิดา ๑ มารดา ๑ เชษฐา ๑
ญาติ​ผู้ใหญ่ ๑ ผู้​มีศ​ ีล ๑ บัณฑิต ๑ เป็น ๑๐ ประการ ควรเ​คารพ*

      ข้อ ๔ 	ผู้​เป็น​ราชบุรุษ​สมมติ​เสนาบดี ให้​รอบรู้​ศิลปศาสตร์ คุณ​
อธิปร​ีช​ าส​ า​มาตย์ องอาจ​ทราบ​ในไ​ตร​ศาสตร​พิ​ไชย​สงคราม  แล​ความ​รู้​ตาม​
ขนบธรรมเนียม​ราช​กิจท​ ุก​ประการ แล​เครื่อง​ศาสตรา​วุธ​ยุทธนา ตระเ​ตรียม​
รกั ษาพ​ ระนครจ​งจ​ดั ไ​วใ​้ หพ​้ รอ้ ม และธ​ญั ญาหารเ​ครือ่ งอ​ ปุ โภคส​ำหรบั ท​ หารห​ า​
ไว้​อยู่ใ​ห้พ​ ร้อม และท​ หาร​หมั่นฝ​ ึกหัดเ​พลงอ​ าวุธ ให้​ชำนาญ​การย​ ุทธนา ช้าง
ม้า โค กระบือ เกวียน​ต่างๆ จัดไ​ว้​โดยป​ รกติ เมื่อ​มี​ข้าศึกภ​ ายในภ​ ายนอกม​ า
จะ​ได้​สู้ร​บท​ ันท​ ่วงที​ข้าศึก ไม่​เสีย​เปรียบ​ลงใ​จใ​นก​ ารร​ักษา​พระนคร​สิ่ง​นี้

      ข้อ ๕ 	ผู้เ​สว​ะ​กาต​ มาตย์ร​าชม​ นตรี พึงม​ ี​ใจ​โอบอ​ ้อมอ​ ารี เลี้ยงด​ ู​หมู​่
จตุรงค์​พระย​ ุ​หะ​ทั้ง ๔ หมู่ใ​ห้ร​ื่นเ​ริง​กล​ ้า​หาญ​ชำนาญ​รบ คือ​พล​ช้าง พล​ม้า
พล​รถ พลเ​ดิน​เท้า ซึ่ง​เป็นพ​ าหนะ​พระม​ หาก​ ษัตริย์ใ​ห้เ​ลี้ยงจ​ตุ​รงค์​ทั้ง ๔ หมู่​
นี้​มี​กำลังไ​ว้เ​สมอ ข้าศึก​ภายนอก ภายในก​ ็​ยำเกรงถ​ ึง​มาทว​่าจ​ะ​มี​ศึก​สงคราม​
มา​ก็​จะ​รักษา​พระนคร​เป็นสุข​ได้​ถ้า​มี​เหตุ​ควร​จะ​ยาตรา​ไป​ประจัน​รณรงค์​ด้วย​
อริน​ราชภ​ ัย​รีย์ โดยท​ ิศานุทิศ​ก็จ​ะ​เอาชัยช​ นะ​ได้โ​ดยเ​ร็ว เหตุท​ ี่ป​ ระพฤติม​ ิได​้
ประมาท แลก​ ำลังจ​ตุ​รงค์พ​ ลส​ ป​ รีย​บูรณ์​พร้อมม​ ูล​อยู่

      ข้อ ๖ 	ผู้​เป็น​มุข​มนตรี​พึง​ให้​วิ​จา​รณะ​ด้วย​ปัญญา​อัน​สุขุม​ให้​พึง​รู้​
กำลงั ต​ นก​ำลงั ท​ า่ น กำลงั ป​ ญั ญา กำลงั พ​ าหนะ ใหร​้ อบรจู​้ กั ค​ ณุ าน​ ร​ุ ปู ฐ​านานรุ ปู ​

*	ความจ​ริงใ​นท​ ี่​นี้​นับ​ได้ ๑๑ ประการ ที่ก​ ล่าวว​่า “บ​ ิดา ๑ มารดา ๑” นั้นอ​ าจเ​ป็น “​บิดา​
	มารดา ๑” บรรณาธิการ
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92