Page 12 - เมื่อวัยใสเขียนเรื่องภูมิปัญญาไทย
P. 12

แมครวั ตัวอักษรมือใหม

อยางไร ปรุงรสอยางไร ขยับมือแคไหน ผัดนานแคไหน อาหารจึงจะกลมกลอม
พอดี อรอ ยลน้ิ เชน เดยี วกนั กบั การเขยี นหนงั สอื ตอ งฝก ฝน ปฏบิ ตั กิ ารเขยี นอยอู ยา ง
สม่ำเสมอ จึงจะมีความชำนาญพอที่จะรูวาอะไรมากหรืออะไรนอย จะกลายเปน
ศิลปะของการตัดแตง ตอเติม ทำใหกลายเปนหนังสือที่มีรสวรรณศิลปแสนอรอยใจ

       และแนน อน การทำอาหารตอ งการความกลา หาญในบางครง้ั กลา ทดลอง
และตองไมกลัวคำวิจารณ คนชิมอาหารจะบนวาอยางไร แมครัวมือใหมก็ตองกลา
รบั ฟง ไมพ าลโมโหฉนุ เฉยี ว ทง้ั บางครง้ั อาจตอ งกลา วจิ ารณฝ ม อื ตนเอง เชน เดยี วกบั
การเขียนหนังสือ ตองมีความกลาที่จะนำเสนอสิ่งใหมๆ ตองกลารับฟงคำวิจารณ
รวมทั้งกลาวิจารณตนเองเชนกัน เพื่อจะไดงานวรรณศิลปที่พัฒนาขึ้นเรื่อยๆ

       ขอ สำคญั สำหรบั การปรงุ อาหารกค็ อื แมค รวั ตอ งสามารถหารสชาตอิ นั เปน
เอกลกั ษณข องตนเองใหไ ด ตอ งรใู หล กึ ถงึ ความเปน มา ปจ จยั ทปี่ ระกอบเปน อาหาร
ของตนเอง หากพื้นถิ่นเราเปนคนใต เราตองการทำอาหารใตรสแรงอยางไรใหเปน
เอกลักษณของทางใตที่เปนตัวของตัวเอง หรือเปนคนเหนือจะทำอาหารรสพอดี
อยางไรใหเปนเอกลักษณของทางเหนือที่เปนตัวของตัวเอง เชนเดียวกับงานเขียน
ผูเขียนก็ตองหาเอกลักษณของตนเองใหเจอ ลีลาการเขียนที่สรางขึ้นมา ตองไม
ลอกเลียนหรือเลียนแบบใคร หากตองพยายามปรับและพัฒนาหาความเปน
ตัวหนังสือที่มีลักษณะเฉพาะอันโดดเดนใหได ไมรูวาตนเองมีเอกลักษณเปนเชนไร
ก็ตองเพียรพยายามทำแลวทำอีกเพื่อคนใหพบ

       นอ งๆ ทเี่ ขา รบั การอบรมอาจจะเปน “แมค รวั มอื ใหม” แตห ากมคี วามอดทน
ขยันทำอาหารสม่ำเสมอ ไมเกียจคราน ไมทอถอย เชื่อวาในไมชาแมครัวมือใหมกจ็ ะ
ไดรับการยอมรับ และพัฒนากลายเปน “แมครัวชั้นเยี่ยม” ที่เปนที่กลาวขวัญกันทั่ว
ในวงการอาหารตัวอักษรแนนอน

                             ŠŠŠ

                       ๔
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17